การส่งมอบบ้าน Pre-Cast(PCM) ให้ทันเวลาทำสัญญาและได้มาตรฐาน LH

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

Land & Houses Public Company Limited
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
1.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
วาระที่ 3.1 ผลเบิกจ่ายงบลงทุน
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
โครงการพฤกษ์ลดา วงแหวน หทัยราษฎร์ (PVH)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ผลการติดตามและทบทวนแผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
TQM CRB R2 Team ชัยพฤกษ์ รัตนาธิเบศร์-วงแหวน.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งมอบบ้าน Pre-Cast(PCM) ให้ทันเวลาทำสัญญาและได้มาตรฐาน LH MW2 Team การส่งมอบบ้าน Pre-Cast(PCM) ให้ทันเวลาทำสัญญาและได้มาตรฐาน LH

ทีมงาน MW2 ที่ปรึกษาโครงการ 1. คุณสันทัด หุตะเจริญ 2. คุณจุมพล ทองคำ 1. คุณกฤษดา วุธรา 2. คุณไชยา สำราญใจ 3. คุณนิกร องอาจ 4. คุณปารณีย์ ธนะกูล 5. คุณวัชระชัย มะลิวัลย์ 6. คุณพูลทวี มงคลชัยฤกษ์(PCM) 7. คุณธนโชติ ประกาแดง (PCM) 8. คุณสำรวย ทนสาง(PCM)

ที่มาและเหตุจูงใจ เนื่องจาก บ.PCM เป็นผู้รับเหมางานตั้งแผ่นบ้าน Pre cast เจ้าใหม่ของ LH ซึ่งมีผลสำคัญในการช่วยให้ LH สามารถขยายงานก่อสร้างที่มีมากขึ้นซึ่งสอดคล้องกับนโยบายบริษัทในเรื่องการเพิ่มผลผลิต แต่เนื่องด้วยที่ บ.PCM ยังเป็นผู้รับเหมาเจ้าใหม่ทำให้ต้องสร้างความเข้าใจในเรื่องของแผนงาน, การควบคุมงานให้ได้ตามแผนงานและสร้างความเข้าใจเรื่องมาตรฐานงานของ LH

วัตถุประสงค์ สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องการส่งบ้านให้ผู้รับเหมา Finishing ที่มักล่าช้ากว่าวันทำสัญญา สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องความไม่ถูกต้องของงานที่มักทำให้งานล่าช้า ได้เรียนรู้ถึงวิธีการทำงานเป็นทีมและการวางแผนแก้ไขปัญหา

ข้อมูลก่อนทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 5 4 100 6

ขั้นตอนการทำโครงการ TQM 1. จัดประชุมรายสัปดาห์ร่วมกันเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาพร้อมทั้งกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหา

การส่งบ้านไม่ทันตามเงื่อนไขเวลา Fish Bone Diagram P.C. เสร็จไม่ทันตามแผน Erection เสร็จไม่ทันตามแผน ขาดการ screen งานก่อนส่งมอบ ชุดP.C.ไม่มีประสบการณ์ จำนวนเที่ยวรถส่งแผ่นไม่เพียงพอ จำนวนชุด P.C. ไม่พอกับปริมาณงาน การแก้ไขงานที่ล่าช้า เพิ่ม Crane อีก 1 ตัว การส่งบ้านไม่ทันตามเงื่อนไขเวลา แก้ไขงานหลายครั้ง หน้างานPCMไม่ตรวจสอบก่อนส่ง LH วัสดุในการเก็บงานมาไม่ทัน จำนวนคนในทีมเก็บงานน้อยไป ผู้รับเหมาย่อยตรวจสอบรายละเอียดไม่ครบ ทีมเก็บงานส่งมอบหมวด 1 ส่งมอบ ผรม. Finishing ไม่ได้ คนเก็บงานเปลี่ยนบ่อยเกินไป ทำงานไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน LH

PDCA Cycle Do Check Action Plan

Schedule 5/55 6/55 7/55 8/55 9/55 10/55 11/55 12/55 1/56 2/56 Plan Do Check Action แผนการทำงาน เวลา Plan Actual

แผนการทำงาน P.C.(Before Operate TQM) เดือน 05/55

P.C. เสร็จไม่ทันตามแผน Do Plan Action Check - ขาดแผนงาน - กำหนดแผนการทำงานรายวัน - การทำงานไม่ถูกขั้นตอนและขาดประสบการณ์ - จัดกิจกรรม Coaching ร่วมกันระหว่าง PCM & LH - จำนวนชุด P.C.ไม่พอกับปริมาณงาน - เพิ่มจำนวนชุด P.C. ให้เพียงพอกับปริมาณงาน Plan จัดประชุมเพื่อติดตามงาน รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาโดยทีมงานพร้อมหาวิธีแก้ไขปัญหา Action การประชุมวิเคราะห์ปัญหาเพิ่มเติมโดยทีมงานพร้อมวิธีแก้ไข ในกรณีที่งานไม่เสร็จตามแผน Check ตรวจสอบเรื่องคุณภาพของงาน ตรวจสอบว่าสามารถทำงานได้ตามแผนงานหรือไม่ ตรวจสอบว่างานผิดพลาดลดลงหรือไม่

แผนการทำงาน P.C.(After Operate TQM) เดือน 09/55

Figure 1.1 การทำงานก่อนส่งตรวจ

Figure 1.2 การตรวจงานโดย PCM

Figure 1.3 การตรวจงานโดย LH

แผนการทำงาน Erection(Before Operate TQM) เดือน 05/55

Erection เสร็จไม่ทันตามแผน Do - ขาดแผนงาน - กำหนดแผนงานรายวันและติดตามการทำงาน - รถขนส่งแผ่นไม่ทัน - เพิ่มจำนวนเที่ยวรถส่งแผ่นให้มากขึ้น - Craneที่มีไม่เพียงพอ - เพิ่มจำนวนCraneอีก 1 ตัว - ขาดการตรวจสอบงานก่อนส่งLH -PCM ต้อง screen งานก่อนส่งมอบ LH Plan จัดประชุมเพื่อติดตามงาน รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาโดยทีมงานพร้อมหาวิธีแก้ไขปัญหา Action การประชุมวิเคราะห์ปัญหาเพิ่มเติมโดยทีมงานพร้อมวิธีแก้ไข ในกรณีที่งานไม่เสร็จตามแผน Check ตรวจสอบแผนการทำงาน ตรวจสอบจำนวนรถแผ่นรายวันว่ามีมากขึ้นหรือไม่ ตรวจสอบว่างานที่ส่งมาถึง LH มีความผิดพลาดน้อยลงหรือไม่

แผนการทำงาน Erection(After operates TQM) เดือน 09/55

Figure 2.1 ตัวอย่างงานติดตั้งแผ่น

Figure 2.2 ตัวอย่างงานติดตั้งแผ่น

Figure 2.2 PCM ตรวจสอบงาน

Figure 2.3 LH ตรวจสอบงาน

แผนการส่งมอบงานหมวด 1 เพื่อทำสัญญา(Before Operate TQM) เดือน 06/55

ไม่สามารถส่งมอบงานหมวด1 ให้ผรม. Finishing ทันเวลา Do - ขาดแผนการทำงาน - กำหนดแผนงานส่งมอบและติดตามการทำงาน - ทีมเก็บงานยังขาดประสบการณ์และคนไม่พอ - เพิ่มคนให้เพียงพอในแต่ละชุดเก็บงานบ้านพร้อมทั้ง Coaching งานให้ทีมงาน - วัสดุและอุปกรณ์ไม่เพียงพอ - PCM ต้องตรวจสอบStock วัสดุและอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการทำงานในวันถัดไป Plan จัดประชุมเพื่อติดตามงาน รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาโดยทีมงานพร้อมหาวิธีแก้ไขปัญหา Action การประชุมวิเคราะห์ปัญหาเพิ่มเติมโดยทีมงานพร้อมวิธีแก้ไข ในกรณีที่งานไม่เสร็จตามแผน Check ตรวจสอบเรื่องเวลาที่ใช้ในการทำงานจริง ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บงานว่าใช้ตามมาตรฐานหรือไม่ ตรวจสอบว่าเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ทำงานมีเพียงพอต่อการทำงานหรือไม่

แผนการส่งมอบงานหมวด 1 เพื่อทำสัญญา(After Operate TQM) เดือน 02/56

Figure 3.2 ผรม.Finishing ตรวจรับงาน

Figure 3.3 ผรม.Finishing ตรวจรับงาน

ทำงานไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน LH Do - แก้ไขงานหลายครั้ง – สร้างความเข้าใจถึงงานมาตรฐานและการทำงานจบเพียงครั้งเดียวเพื่อไม่ต้องเสียเวลาแก้ไขงานและ PCM ต้อง screen งานก่อนส่ง LH - ขาดการตรวจสอบเรื่องข้อกำหนดและมาตรฐานงาน - การทำงานต้องอ้างอิงมาตรฐานจาก Request หรือ คู่มือของ บ.PCM ทุกครั้ง Plan จัดประชุมเพื่อติดตามงาน รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาโดยทีมงานพร้อมหาวิธีแก้ไขปัญหา Action การประชุมวิเคราะห์ปัญหาเพิ่มเติมโดยทีมงานพร้อมวิธีแก้ไข ในกรณีที่งานไม่เสร็จตามแผน Check FM ตรวจสอบว่างานตรงตามมาตรฐานหรือไม่ โดยใช้ Request ตรวจงาน

Figure 4.1 ตรวจผลงานที่ไม่ตรงมาตรฐาน

Figure 4.2 การแก้ไขงานที่ตรงตามมาตรฐาน

รูปภาพวิธีการทำงานของทีมงาน TQM Figure 5.1 จัดประชุมรายสัปดาห์กับบ. PCM

Figure 5.3 Portfolio บันทึกการประชุม

Figure 5.4 ตัวอย่างบันทึกการประชุม

ข้อมูลระหว่างทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 7 5 1 20 4 80 8 2 40 3 60

ข้อมูลระหว่างทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 9 5 3 60 2 40 10 4 80 1 20

ข้อมูลระหว่างทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 11 5 100 12

ข้อมูลระหว่างทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 1/56 10 9 90 1 2/56 100

ข้อมูลระหว่างทำโครงการ TQM สัญญา (เดือน) จำนวนบ้านตามสัญญา(หลัง) ส่งมอบทันตามเงื่อนไข(หลัง) คิดเป็น(%) ส่งมอบไม่ทันตามเงื่อนไข(หลัง) 3/56 10 100

กราฟสรุปความคืบหน้างาน