กลุ่มงานพัสดุ สำนักอำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขั้นตอนและการบริหารสัญญาจ้างที่ปรึกษา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง โดย กลุ่มงานพัสดุ สำนักอำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เปิดโอกาสให้มีการแข่งกันกันอย่างเป็นธรรม หลักการบริหารพัสดุ หลักการจัดหาพัสดุ เปิดเผย เปิดโอกาสให้มีการแข่งกันกันอย่างเป็นธรรม โปร่งใส 19 พ.ค. 60
การพัสดุ : พัสดุ : ความหมาย การพัสดุ : การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบฯ การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจำหน่าย และการดำเนินการอื่นๆ พัสดุ : วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ตามหลัก การจำแนกประเภทรายจ่ายของสำนักงบประมาณ 19 พ.ค. 60
ความหมาย ระเบียบฯ เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ประกอบอาชีพ วิชาชีพหรือให้บริการเป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับวิศวกรรม สถาปัตยกรรม เศรษฐศาสตร์ การศึกษา การเงิน บัญชี กฎหมาย หรืออื่น ๆ แต่ไม่รวมถึงการจ้างออกแบบและควบคุมงาน คู่มือกระทรวงการคลัง เป็นการจ้างบริการทางวิชาการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานอันเกิดจากความคิดของที่ปรึกษาภายใต้ขอบเขตของการปฏิบัติที่ผู้ว่าจ้างกำหนด 19 พ.ค. 60
ขั้นตอนการจ้างที่ปรึกษา 19 พ.ค. 60
1. อนุมัติหลักการ สำนักฯจะต้องขออนุมัติหลักการ จาก ผู้บริหารที่กำกับดูแลสำนักฯ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1.1 รายละเอียดของงานจ้างที่ปรึกษา 1.2 วงเงินที่จะต้อง และงบประมาณที่จะ ใช้ในการจ้างฯ 1.3 รายชื่อคณะกรรมการดำเนินการจ้าง ที่ปรึกษา และ คณะกรรมการกำกับ การทำงานและตรวจรับงาน ของที่ปรึกษา 19 พ.ค. 60
2. การจัดทำ TOR (Terms of Reference) 2.1 หลักการและเหตุผลการดำเนินงาน 2.2 วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน 2.3 ขอบเขตการดำเนินงาน 2.4 ระยะเวลาขั้นตอนการดำเนินงาน 2.5 งบประมาณในการดำเนินงาน รวมถึงการแบ่งงวด การจ่ายเงิน การกำหนดค่าปรับ (ถ้ามี) 2.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 19 พ.ค. 60
3. รายงานขอจ้าง ก่อนการดำเนินการจ้างที่ปรึกษา จะต้องจัดทำรายงานขอจ้าง โดยมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 3.1 เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจ้างที่ปรึกษา 3.2 ขอบเขตโดยละเอียดของงานที่จะจ้าง ที่ปรึกษา (Terms of Reference) 3.3 คุณสมบัติของที่ปรึกษา 3.4 วงเงินค่าจ้างที่ปรึกษาโดยประมาณ 19 พ.ค. 60
3. รายงานขอจ้าง (ต่อ) 3.5 กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน 3.5 กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน 3.6 วิธีจ้างที่ปรึกษา และเหตุผลที่ต้อง จ้างที่ปรึกษาโดยวิธีนั้น 3.7 ข้อเสนออื่น ๆ (แต่งตั้ง คกก.) 19 พ.ค. 60
4. วิธีการจ้างที่ปรึกษา การจ้างที่ปรึกษามี 2 วิธี 4.1 วิธีตกลง ได้แก่การจ้างที่ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างตกลงจ้างรายใด รายหนึ่ง ซึ่งเคยทราบหรือเคยเห็นความสามารถและผลงานแล้ว และ เป็นผู้ให้บริการที่เชื่อถือได้ 4.2 วิธีคัดเลือก ได้แก่การจ้างที่ปรึกษาโดยการคัดเลือกที่ปรึกษา ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะทำงานนั้นให้เหลือน้อยราย และเชิญชวน ที่ปรึกษาที่ได้รับคัดเลือกให้เหลือน้อยรายดังกล่าวยื่นข้อเสนอเข้ารับงาน นั้นๆ เพื่อพิจารณาคัดเลือกรายที่ดีที่สุด ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรและ หัวหน้าราชการเห็นชอบ ให้เชิญที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ยื่น ข้อเสนอเข้ารับงาน โดยไม่ต้องทำการคัดเลือกให้ เหลือน้อยรายก่อนก็ได้ 19 พ.ค. 60
4.1 วิธีตกลง การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง ให้กระทำได้ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้ (1) เป็นการจ้างที่มีค่างานไม่เกิน 100,000 บาท (2) เป็นการจ้างเพื่อทำงานต่อเนื่องจากงานที่ได้ทำอยู่แล้ว (3) เป็นการจ้างในกรณีที่ทราบแน่ชัดว่า ผู้เชี่ยวชาญในงานที่จะให้บริการตามที่ต้องการมีจำนวนจำกัด และเป็นการจ้างที่มีค่างานจ้างไม่เกิน 2,000,000.- บาท (4) เป็นการจ้างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดที่มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีให้การสนับสนุน ให้ดำเนินการจ้างให้โดยตรง 19 พ.ค. 60
4.2 วิธีคัดเลือก มี 2 แบบ (1) การจ้างที่ปรึกษาที่เป็นงานยุ่งยากซับซ้อน จะพิจารณาข้อเสนอทางเทคนิคของที่ปรึกษาที่ยื่นข้อเสนอ โดยจัดเรียงคะแนนสูงสุดแล้วเปิดซองข้อเสนอด้านราคาของที่ปรึกษาที่มีข้อเสนอทางด้านเทคนิคดีที่สุดและเจรจาต่อรองให้ได้ราคาที่เหมาะสม (2) เป็นงานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีที่ปรึกษาซึ่งสามารถทำงานทำงานนั้นได้เป็นการทั่วไป ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะออกหนังสือเชิญชวนที่ปรึกษาที่ได้คัดเลือกไว้ให้ข้อเสนอเพื่อรับงาน 19 พ.ค. 60
5. คณะกรรมการดำเนินการ 1. คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดย วิธีตกลง 2. คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดย วิธีคัดเลือก 3. คณะกรรมการกำกับการทำงานและตรวจรับ งานของที่ปรึกษา 19 พ.ค. 60
6. องค์ประกอบของคณะกรรมการ 6.1 ประธาน 1 คน 6.2 กรรมการอื่นอย่างน้อย 4 คน โดยปกติแต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการพนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ 19 พ.ค. 60
6. องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ต่อ) - คำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบเป็นสำคัญ - ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ซึ่งเป็นผู้ชำนาญการในงานที่จะจ้างที่ปรึกษา ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ - การดำเนินการด้วยเงินกู้ ให้มีผู้แทนจากสนง. บริหารหนี้สาธารณะ 1 คน 19 พ.ค. 60
7. การประชุมของกรรมการ องค์ประชุม - ประธาน + กรรมการไม่น้อย องค์ประชุม - ประธาน + กรรมการไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่ง และประธาน จะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง การประชุม - ต้องมีกรรมการมาพร้อมกัน ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำนวนกรรมการทั้งหมด 19 พ.ค. 60
ประธานกรรมการและกรรมการแต่ละคนมีเสียงหนึ่งในการลงมติ 8. มติคณะกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการแต่ละคนมีเสียงหนึ่งในการลงมติ มติกรรมการ - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธาน ออกเสียงเพิ่มอีก 1 เสียง 19 พ.ค. 60
9. หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษา โดยวิธีตกลง 9.1 พิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิคของที่ปรึกษา 9.2 พิจารณาอัตราค่าจ้างและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ บริการที่จะจ้างและเจรจาต่อรอง 9.3 พิจารณารายละเอียดที่จะกำหนดไว้ในสัญญา 9.4 ให้คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็นพร้อมเอกสารที่ได้รับทั้งหมดต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อสั่งการ โดยเสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 19 พ.ค. 60
10. หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษา โดยวิธีคัดเลือก การจ้างที่ปรึกษา โดยวิธีคัดเลือกมี 2 วิธี ดังนี้ 10.1 ยื่นข้อเสนอด้านเทคนิคและข้อเสนอด้านราคาพร้อมกัน โดยแยกเป็น 2 ซอง 10.2 ยื่นข้อเสนอด้านเทคนิคเพียงซองเดียว 19 พ.ค. 60
กรณียื่นข้อเสนอด้านเทคนิคและราคาพร้อมกัน 1. ให้ที่ปรึกษายื่นข้อเสนอด้านเทคนิคและข้อเสนอราคาพร้อมกัน โดยแยกเป็น 2 ซอง 2. คณะกรรมการฯพิจารณาข้อเสนอ ด้านเทคนิคของที่ปรึกษา ทุกรายและจัดลำดับ 3. เปิดซองราคาของผู้ที่ได้รับการจัดลำดับหนึ่งถึงสาม แล้วเลือกรายที่เสนอราคาต่ำสุดมาเจรจาต่อรองราคา 4. หากเจรจาแล้วไม่ได้ผล ให้ยกเลิกแล้วเจรจากับรายที่เสนอราคาต่ำรายถัดไปตามลำดับ 19 พ.ค. 60
กรณียื่นข้อเสนอด้านเทคนิคเพียงซองเดียว 1. ขั้นตอนการเชิญที่ปรึกษา - กำหนดเกณฑ์การพิจารณาเบื้องต้น - หนังสือเชิญชวนที่ปรึกษา เพื่อยื่นข้อเสนอเทคนิค และราคา 2. ขั้นตอนการพิจารณาและตัดสิน - ตรวจสอบผลประโยชน์ร่วมกัน - ประกาศรายชื่อที่ปรึกษาที่ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน 19 พ.ค. 60
กรณียื่นข้อเสนอด้านเทคนิคเพียงซองเดียว (ต่อ) - เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอด้าน เทคนิค - กำหนดวิธีการพิจารณา - จัดลำดับที่ปรึกษาที่มีข้อเสนอทาง เทคนิคที่ดีที่สุด 3. ขั้นตอนการเจรจาต่อรองและพิจารณา รายละเอียด ที่จะกำหนดในสัญญา - พิจารณาข้อเสนอทางด้านราคา - เจรจาต่อรองให้ได้ราคาที่เหมาะสม 19 พ.ค. 60
กรณียื่นข้อเสนอด้านเทคนิคเพียงซองเดียว (ต่อ) - เจรจาต่อรองให้ได้ราคาที่เหมาะสม - พิจารณาเงื่อนไขต่าง ๆ ที่จะกำหนด ในสัญญาฯ 4. ขั้นตอนการสรุป - รายงานผลการพิจารณา และ ความเห็นพร้อมด้วย - เอกสารเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ โดยเสนอผ่าน หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 19 พ.ค. 60
การจ่ายค่าจ้างล่วงหน้า ในกรณีมีความจำเป็นต้องจ่ายเงินล่วงหน้าให้จ่ายได้ ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้างตามสัญญา และที่ปรึกษาต้องวางหนังสือค้ำประกันครบตามจำนวนเงินล่วงหน้าที่รับไป สำหรับจ้างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้จ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของค่าจ้างตามสัญญาโดยไม่ต้องมีหลักประกันเงินล่วงหน้าที่รับไป 19 พ.ค. 60
ตัวอย่างรายงานขอจ้างที่ปรึกษา 1. เหตุผลความจำเป็น ................................................................................................................................ ตามที่ได้รับอนุมัติหลักการจากผู้บริหารที่กำกับดูแลสำนัก ดังหนังสือที่ ศธ ………………… ลงวันที่………… 2. ขอบเขตโดยละเอียดของงานที่จะจ้างที่ปรึกษา (Terms of Reference) ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 3. คุณสมบัติของที่ปรึกษาโดยประมาณ 3.1 มีบุคลากรที่มีคุณวุฒิเกี่ยวกับงานจ้างที่ปรึกษา ระดับปริญญาโทขึ้นไป 3.2 มีบุคลากรที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานจ้างที่ปรึกษา ไม่น้อยกว่า 3 ปี 19 พ.ค. 60
ตัวอย่างรายงานขอจ้างที่ปรึกษา 4. ราคากลาง เป็นเงิน .......................... โดยอ้างอิงจากหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/ว 128 ลงวันที่ 8 สิงหาคม 2556 เรื่องหลักเกณฑ์ราคากลางการจ้างที่ปรึกษา (พร้อมแนบตารางแสดงวงเงินฯ การจ้างที่ปรึกษา ตามแบบ ป.ป.ช.) 5. วงเงินค่าจ้างที่ปรึกษา ภายในวงเงิน .....(.....) โดยเบิกจายจากปีงบประมาณ ............. แผนงาน ................ ผลผลิต ............................งบรายจ่าย.................................. 6. กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน ภายใน .............. วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง 7. วิธีที่จะจ้าง และเหตุผลที่ต้องจ้างโดยวิธีนั้น ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 77 19 พ.ค. 60
ตัวอย่างรายงานขอจ้างที่ปรึกษา 8. ข้อเสนออื่นๆ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติงาน ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 79 ดังนี้ 8.1 คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง/คัดเลือก ประกอบด้วย 8.1.1 ........................................................ประธานกรรมการ 8.1.2 ........................................................กรรมการ 8.1.3 ........................................................กรรมการ 8.1.4 ........................................................กรรมการ 8.1.5 ........................................................กรรมการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดำเนินการต่อไปด้วย จะขอบคุณยิ่ง 19 พ.ค. 60
ราคากลาง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 มาตรา 103/7 วรรคหนึ่ง ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการจัดทำข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง โดยเฉพาะราคากลางและการคำนวณราคากลางไว้ในระบบข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 ให้หน่วยงานของรัฐจะต้องเปิดเผยราคากลางและการคำนวณราคากลาง ตั้งแต่วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เป็นต้นไป 19 พ.ค. 60
ราคากลาง (ต่อ) ราคากลาง หมายความว่า รายละเอียดราคามาตรฐาน หรือราคาที่ใกล้เคียงความเป็นจริงเพื่อใช้เป็นฐานสำหรับเปรียบเทียบราคาที่ผู้เสนอราคาได้ยื่นเสนอไว้ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริง การคำนวณราคากลาง หมายความว่า วิธีการคำนวณราคาการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละรายการตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่หน่วยงานของรัฐกำหนด หรือปฏิบัติเพื่อให้ได้มาซึ่งราคากลาง 19 พ.ค. 60
ตัวอย่าง 1. ชื่อโครงการ..................................................................................................................................... /หน่วยงานเจ้าของโครงการ........................................................................................................... 2. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร.............................................................................................บาท 3. วันที่กำหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ........................................................................................... เป็นเงิน ....................................................................................................................................บาท 4. ค่าตอบแทนบุคลากร...............................................................................................................บาท 4.1 ประเภทที่ปรึกษา.................................................................................................................. 4.2 คุณสมบัติของที่ปรึกษา......................................................................................................... 4.3 จำนวนที่ปรึกษา...............................................................................................................คน 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ ......................................................................................................................บาท 6. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ (ถ้ามี) ....................................................................บาท 7. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ......................................................................................................................บาท 8. รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกำหนดค่าใช้จ่าย/ดำเนินการ/ขอบเขตดำเนินการ (TOR) 8.1 ................................................................................................................................................ 8.2 ................................................................................................................................................ 8.3 ................................................................................................................................................ 8.4 ................................................................................................................................................ 9. ที่มาของการกำหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง)................................................................................ 19 พ.ค. 60
การบริหารสัญญา 19 พ.ค. 60
การบริหารสัญญา การบริหารสัญญา คือ การกำกับและติดตาม การดำเนินการให้เป็นไปตามสัญญา โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ ตามสาระสำคัญของสัญญาที่แนบท้ายสัญญา ดังนี้ 1. ระยะเวลาแล้วเสร็จ และ 2. คุณลักษณะเฉพาะ ข้อกำหนด ข้อเสนอ 19 พ.ค. 60
ผู้ที่มีหน้าที่ในการบริหารสัญญา 1. คู่สัญญา (หัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) 2. คณะกรรมการกำกับการทำงานและตรวจรับผลงาน 3. เจ้าหน้าที่พัสดุ 19 พ.ค. 60
การกำหนดอัตราค่าปรับ กรณีการจ้างที่ปรึกษา หากส่วนราชการเห็นว่า ถ้าไม่กำหนดค่าปรับไว้ในสัญญาจะเกิดความเสียหายแก่ทางราชการ ให้กำหนดค่าปรับเป็นรายวันในอัตราหรือจำนวนเงินตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01-0.10 ของราคาค่าจ้างนั้น แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100.- บาท 19 พ.ค. 60
การตรวจรับ 1. ให้ตรวจรับโดยเร็ว ตั้งแต่วันที่ที่มีหนังสือส่งงาน พร้อมด้วยเอกสาร (ส่งงานสารบรรณ/เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้รับต้องรีบนำส่งสารบรรณ) ตามเงื่อนไขสัญญา และต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็นหนังสือด้วย เพื่อใช้เป็นหลักฐานยืนยันวันที่ส่งมอบตามสัญญา และประโยชน์ในการคิดคำนวณค่าปรับ 2. มติคณะกรรมการกำกับการทำงานฯ เป็นมติเอกฉันท์ 3. จัดทำใบรับรองผลการตรวจรับงานของที่ปรึกษา 4. รายงานหัวหน้าส่วนราชการ 19 พ.ค. 60
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หลัก สัญญาที่ลงนามแล้ว แก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ยกเว้น - กรณีจำเป็น - เป็นอำนาจหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา - ต้องเป็นประโยชน์ราชการ/ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ - หากเพิ่ม/ลด วงเงิน/ขยายเวลาส่งมอบ/ให้ตกลงไปพร้อมกัน - ความมั่นคงแข็งแรง/เทคนิค/ต้องได้รับการรับรองสถาปนิก/ วิศวกรฯ - เพิ่มวงเงินให้ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 19 พ.ค. 60
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (ต่อ) ระยะเวลาแก้ไข - แก้ไขเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องก่อนคณะกรรมการฯตรวจรับงานงวดสุดท้าย ผู้มีหน้าที่เสนอความเห็นแก้ไข/เปลี่ยนแปลง - คณะกรรมการกำกับการทำงานและตรวจรับงานของ ที่ปรึกษา 19 พ.ค. 60
การคิดค่าปรับตามสัญญา เมื่อครบกำหนดสัญญา/ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา สงวนสิทธิการปรับ เมื่อส่งมอบงานเกินกำหนดตามสัญญา ช่วงเวลาที่คณะกรรมการฯใช้ระยะเวลาในการตรวจรับงาน สามารถนำมางดหรือลดค่าปรับได้ 19 พ.ค. 60
ตัวอย่างการคำนวณค่าปรับ .............กำหนดส่ง 17 ม.ค. 2. ส่ง 14 ม.ค. 1 รับ 20 ม.ค. 1 แจ้งแก้ไข ส่ง 24 ม.ค. 2 รับ 27 ม.ค. 2 ปรับ ลดปรับ
การงด ลด ค่าปรับ หรือขยายเวลาตามสัญญา - เหตุ 1. เกิดจากความผิด/ความบกพร่องของส่วนราชการ 2. เหตุสุดวิสัย 3. เกิดจากพฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด - เงื่อนไข 1. ต้องส่งผลกระทบต่อการปฎิบัติตามสัญญา 2. ต้องไม่ใช่ความผิดของผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 3. เหตุตาม (2), (3) คู่สัญญาจะต้องมีหนังสือแจ้งให้ทราบภายใน 15วัน นับแต่เหตุนั้นสิ้นสุด * เหตุที่เกิดขึ้นหลังผิดสัญญาแล้วแต่ผู้รับจ้างยังปฎิบัติตามสัญญาอยู่นำมาพิจารณางด ลด ค่าปรับ ได้ - อำนาจอนุมัติ - หัวหน้าส่วนราชการ 19 พ.ค. 60
เหตุเกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ เหตุที่เกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ ต้องเป็นเหตุอุปสรรคที่ทำให้ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานจ้างนั้นได้ และไม่ว่าเหตุนั้นจะเป็นผลมาจากส่วนราชการผู้ว่าจ้างโดยตรง หรือมาจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็ตาม 19 พ.ค. 60
เหตุสุดวิสัย ตามมาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เหตุสุดวิสัย หมายถึง “เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี เป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้น” เช่น ฝนตก น้ำท่วม เป็นต้น 19 พ.ค. 60
เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญา ไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ตามมาตรา 205 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ตราบใดการชำระหนี้นั้นยังไม่ได้กระทำลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่” พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดชอบนั้น จะต้องเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง และต้องเกิดขึ้นก่อนผิดนัดชำระหนี้ด้วย 19 พ.ค. 60
การงด ลด ค่าปรับ หรือขยายเวลาตามสัญญา (ต่อ) - การขยายเวลา หัวหน้าส่วนราชการจะต้องอนุมัติให้ขยายเวลาตามสัญญา ก่อน สัญญาสิ้นสุด - การงดหรือลดค่าปรับ หากผู้รับจ้างขอขยายสัญญามาก่อนถึงวันครบกำหนดตาม สัญญา แต่หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติให้ขยายสัญญาล่าช้า จนเลยวันครบกำหนด ตามสัญญาไปแล้วค่าปรับจึงเกิดขึ้นแล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้ 1. ให้รีบแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญาและสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับ 2. หากส่วนราชการอนุมัติให้ขยายเวลา ก็ให้นำระยะเวลาดังกล่าว มาพิจารณางดหรือลดค่าปรับให้โดยไม่ต้องแก้ไขวันครบกำหนดสัญญา 3. หลังจากครบกำหนดสัญญาแล้ว หากผู้รับจ้างยื่นขอขยายเวลา ของดหรือลดค่าปรับ จะต้องใช้วิธีการงดหรือลดค่าปรับตามสัญญา ผู้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ การบริหารพัสดุภาครัฐ กำหนดวิธีการจ้างที่ปรึกษา จำนวน 3 วิธี ดังนี้ 1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป ได้แก่การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนที่ปรึกษาทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ 2. วิธีคัดเลือก ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ การบริหารพัสดุภาครัฐ 3. วิธีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอ หรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคา 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ การบริหารพัสดุภาครัฐ วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป ให้ใช้กับงานที่ไม่ซับซ้อน งานที่มีลักษณะเป็นงานประจำของหน่วยงานของรัฐ หรืองานที่มีมาตรฐานตามหลักวิชาชีพ และมีที่ปรึกษาซึ่งสามารถทำงานนั้นได้เป็นการทั่วไป 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ การบริหารพัสดุภาครัฐ วิธีคัดเลือก ใช้ในกรณีดังนี้ 1. ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก 2. เป็นงานที่ซับซ้อน ซับซ้อนมาก หรือที่มีเทคนิคเฉพาะไม่เหมาะที่จะดำเนินการโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 3. เป็นงานจ้างที่มีที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างนั้นจำนวนจำกัด 4. กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ (ต่อ) การบริหารพัสดุภาครัฐ (ต่อ) วิธีเฉพาะเจาะจง ใช้ในกรณีดังนี้ 1. ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้วแต่ไม่มีผู้มายื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก 2. งานจ้างที่มีวงเงินค่าจ้างครั้งหนึ่งไม่เกินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 3. เป็นงานที่จำเป็นต้องให้ที่ปรึกษารายเดิมทำต่อจากงานที่ได้รับทำไว้แล้ว เนื่องจากเหตุผลทางเทคนิค 19 พ.ค. 60
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ (ต่อ) การบริหารพัสดุภาครัฐ (ต่อ) 4. เป็นงานที่มีที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างนั้นจำนวนจำกัด และมีวงเงินค่าจ้างครั้งหนึ่งไม่เกินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 5. เป็นงานจ้างที่มีที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างนั้นเพียงรายเดียว 6. เป็นงานที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ หากล่าช้าจะเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐหรือความมั่นคงของชาติ 7. กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 19 พ.ค. 60