สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
– Web Programming and Web Database
Advertisements

การแปลง E-R เป็น Table.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
Week 5 Online available at
E-R to Relational Mapping Algorithm
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Database Management System
DATABASE RELATIONAL MODEL ER DIAGRAM.
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
CHAPTER 11 Database Design. 2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda Data Organization Relational Database Entity,
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
Entity-Relationship Model
ฐานข้อมูล.
SQL Structured Query Language.
Entity – Relationship Model
บทที่ 2 นอร์มัลไลเซชัน normalization
การทำ Normalization 14/11/61.
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การเปลี่ยนจาก E-R Diagram เป็นโมเดลเชิงสัมพันธ์ (ตารางข้อมูล)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
Multistage Cluster Sampling
Database design E-R Diagram
Entity – Relationship Model
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
E-R Diagram (Entity Relationship Diagram)
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลด้วย E-R Model และการแปลงเป็นรีเลชัน
Application of Software Package in Office
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
ทำความรู้จักและใช้งาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
กฎการ Normalization 1. จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้ด้วยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคคอร์ดใหม่
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
การออกแบบฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
Tree.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
[ บทที่ 5 ] การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
Database Design & Development
Class Diagram.
[ บทที่ 2 ] กรอกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ER-to-Relational Mapping Algorithm

สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram 1. กำหนดว่ามีเอนทีตีอะไรบ้าง 2. กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอนทีตี 3. กำหนดแอทริบิวต์ของเอนทีตีให้ครบ 4. พิจารณาแอทริบิวต์ที่ขึ้นกับความสัมพันธ์ 5. เลือกคีย์หลัก

การแปลง E-R Model เป็น Table

Step 1 Entity Students ขั้นตอนการแปลง Entity - สร้างตารางสำหรับ Entity กรณี Simple Attribute - สร้างตารางสำหรับ Entity - ชื่อของตาราง นำมาจาก ชื่อของ Entity - ชื่อของคอลัมน์ นำมาจากชื่อของ Attribute ของ Entity - Primary Key ของ ตาราง นำมาจาก Primary Key ของ Entity S_ID BirthYear First_name Last_name Students S_ID First_name Last_name BirthYear

Step 1 Entity Customer ขั้นตอนการแปลง Entity city street ขั้นตอนการแปลง Entity กรณี Composite Attributes - นำเพียงแอตทริบิวต์แบบ simple ที่บรรจุอยู่ในแอตทริบิวต์แบบ Composite มาเท่านั้น state Customer Zip Code cus_ID Address First_name Last_name Customer cus_ID First_name Last_name street city State zipcode

Step 1 Entity Students ขั้นตอนการแปลง Entity กรณี Multivalued Attribute - ต้องมีการสร้างรีเลชั่นสองรีเลชั่น - รีเลชั่นแรกจะบรรจุค่าแอตทริบิวต์ที่มีอยู่ใน Entity ทั้งหมด ยกเว้นแอตทริบิวต์ที่เป็นแบบ Multivalued - รีเลชั่นที่สองให้บรรจุ 2 แอตทริบิวต์ - แอตทริบิวต์แรกคือ คีย์หลักที่อยู่ในรีเลชั่นแรก - แอตทริบิวต์สอง คือ แอตทริบิวต์ที่เป็น Multivalued Students S_ID Tel Tel First_name Last_name Students S_ID First_name Last_name Students_Tel S_ID Tel

Multivalued Attributes Instructor - Relational Model จะยอมให้มีเพียง 1 ข้อมูลในแต่ละ attribute - Multivalued attribute ใน ER Model จะถูกสร้างเป็นตารางใหม่ เพื่อเก็บข้อมูลโดยเฉพาะ ID Tel Degrees Name Instructor ID Name Instructor_degree ID Degree

Step 2 Weak Entity ขั้นตอนการแปลง Weak Entity - สร้างตารางใหม่สำหรับ Weak Entity นำ Primary Key จาก Master Entity มาเป็น Primary Key ร่วมกับ Primary Key เดิมของ Weak Entity Attribute นั้นจะมาเป็น Foreign Key สำหรับชี้ไปยัง ตารางของ Master Entity

Step 2 Weak Entity EMPLOYEE emp_firstName emp_ID 1 M DEPENDENT Last Name First Name emp_firstName emp_LastName birthDate dependentname emp_ID gender 1 M EMPLOYEE claims DEPENDENT EMPLOYEE emp_ID emp_firstName emp_LastName DEPENDENT firstName lastname emp_ID birthDate gender

Step 2 Weak Entity Building Building_ID Room_number … … 1 M Room has Room Building Building_ID … Room Building_ID Room_number …

Step 3 : One-to-Many Relationship - นำ Primary Key ฝั่ง One ไปเพิ่มเป็นคอลัมน์ ในฝั่ง Many - คอลัมน์ นั้นจะเป็น Foreign Key อ้างถึง Primary Key ของตารางที่ต้องการอ้างถึง(ฝั่ง One) - การแปลง Many-to-One ก็กระทำอย่างเดียวกัน

Step 4 : Many -to-Many Relationship - สร้างตารางของความสัมพันธ์ขึ้นมา 1 ตารางเพื่อเก็บ Primary Key ของทั้ง 2 ตาราง - คอลัมน์ที่ได้ใหม่ทั้ง 2 คอลัมน์จะเป็น Foreign Key ชี้ไปยังตารางที่ดึงมา - ใช้ Entity ใหม่ ที่ได้มาเป็นทั้ง 2 Entity เป็น Primary Key ของตารางความสัมพันธ์

Step 4 : Many -to-Many Relationship … C_ID S_ID … M N STUDENT takes COURSE … C_ID … S_ID 1 M M 1 STUDENT takes COURSE STUDENT_COURSE S_ID C_ID STUDENT S_ID … COURSE C_ID …

Step 4 : Many -to-Many Relationship ในกรณีที่ความสัมพันธ์มีแอตทริบิวท์ ให้นำแอตทริบิวท์ นั้นไปต่อท้ายแอตทริบิวท์ที่นำมาจากตารางทั้ง 2 ฝั่ง … C_ID S_ID Registration_date … M N STUDENT takes COURSE … C_ID … S_ID 1 M M 1 STUDENT takes COURSE Registration_date STUDENT_COURSE S_ID C_ID Registration_date STUDENT S_ID … COURSE C_ID …

ข้อสังเกต ข้อสังเกต คอลัมน์ของตารางที่คล้ายๆ กัน ควรมีชื่อที่แตกต่างกัน เช่น ID เป็นชื่อของ Primary Key ของตาราง 2 ตาราง 1 ใน 2 ตารางนั้นควรจะเปลี่ยนชื่อก่อนที่จะเพิ่มตารางใหม่ลงไป การเปลี่ยนควรจะ ทำโดยการเพิ่มชื่อของ Entity ลงไป ใน ชื่อ Attribute นั้น เช่น Student_id, Instructor_id

ข้อสังเกต

Step 6 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดหนึ่งต่อกลุ่ม (1:M) ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N)

Step 6 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดหนึ่งต่อกลุ่ม (1:M) emp_ID emp_Name birthDate M EMPLOYEE 1 manages EMPLOYEE emp_ID emp_Name birthDate managerID

Step 6 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Unary ความสัมพันธ์แบบ Unary ชนิดกลุ่มต่อกลุ่ม (M:N) item_Name จะต้องสร้างรีเลชั่น 2 รีเลชั่นด้วยกัน โดยรีเลชั่นแรกจะมีคีย์หลักพร้อมแอตทริบิวต์ที่เกี่ยวข้อง ส่วนอีกรีเลชั่นประกอบด้วย 2 แอตทริบิวต์ที่ใช้เป็นคีย์หลัก ซึ่งแอตทริบิวท์ทั้ง 2 ก็คือค่าข้อมูลเดียวกันกับคีย์หลักในเอ็นทิตี้แรก แต่เปลี่ยนชื่อให้แตกต่างกัน item_ID unitCost N ITEM M quantity contains ITEM item_ID item_Name unitCost ITEM_Component item_ID Component_NO quantity

Step 7 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Ternary (and n-ary) patient_Name physician_ID physician _Name patient_ID M M PATIENT Patient_ Treatment PHYSICAIN time results date M treatmentCode TREATMENT description

Step 7 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Ternary (and n-ary) ขั้นที่ 1 ในการแปลง patient_Name physician_ID physician _Name patient_ID 1 M M 1 PATIENT Patient_ Treatment PHYSICAIN M 1 time results date treatmentCode TREATMENT description

Step 7 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Ternary (and n-ary) ขั้นที่ 2 ในการแปลง จะต้องสร้างรีเลชั่น 4 รีเลชั่นด้วยกัน โดยจะมีเอ็นทิตี้หนึ่งเชื่อมโยงระหว่าง 3 เอ็นทิตี้เข้าด้วยกัน เอ็นทิตี้นั้นจะนำคีย์หลักใน 3เอ็นทิตี้มาเป็นคีย์หลัก และอาจเพิ่มเติมคีย์หลักได้ PATIENT patient_ID patient_Name PHYSICIAN physician_ID physicianName PATIENT_TREATMENT patient_ID physician_ID treatmentCode date time results TREATMENT treatmentCode description

Step 8 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Supertype และ Subtype ให้สร้างรีเลชั่นแยกออกต่างหาก สำหรับซูเปอร์ไทป์และแต่ละซับไทป์ แอตตริบิวต์ของซับไทป์จะได้รับการถ่ายทอดจากรีเลชั่นที่เป็นซูเปอร์ไทป์ รวมถึงแอตตริบิวต์ที่เป็นคีย์หลักด้วย กำหนดคีย์หลักให้กับแต่ละรีเลชั่นที่เป็นซับไทป์ โดยจะต้องมีแอตตริบิวต์ที่แตกต่างกัน เพื่อใช้ระบุความแตกต่างของแต่ละซับไทป์ กำหนด Subtype Discriminator ให้กับ Supertype

Step 8 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Supertype และ Subtype name address empNo dataHired EMPLOYEE d SALARIED_EMP HOURLY_EMP CONSULTANT salary hourlyRate bonus contractNo BillingRate

Step 8 : การแปลงความสัมพันธ์แบบ Supertype และ Subtype EMPLOYEE empNo name address dataHired SALARIED_EMP sempNo salary bonus HOURLY_EMP hempNo hourlyRate CONSULTANT cempNo contractNo BillingRate

แบบฝึกหัด 1. จงวาดรูป ER Diagram ของระบบร้านเช่าดีวีดีแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย แฟ้มสมาชิก(member) ข้อมูลที่เก็บ รหัสลูกค้า , ชื่อ , ที่อยู่,เบอร์โทร แฟ้มชื่อเรื่อง(title) ข้อมูลที่เก็บ รหัสเรื่อง, ชื่อเรื่อง , ผู้กำกับ , นักแสดง (Mutivalue attribute) แฟ้มประเภท(category) ข้อมูลที่เก็บ รหัสประเภท,รายละเอียด และทำการแปลง ER Diagram เป็น Table พร้อมใส่ข้อมูลใน Table อย่างละ 3 เรคคอร์ด

2. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง N 1 M M 1 พร้อมใส่ข้อมูลใน Table อย่างละ 3 เรคคอร์ด

3. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง วันที่เข้าเรียน คณะ เลขที่บัตร วันเกิด รหัสวิชา รหัสนักศึกษา ชื่อ 1 1 มี M ลงทะเบียน N ประวัตินักศึกษา นักศึกษา วิชา M ชั้นปี ชื่อวิชา เชื้อชาติ ที่อยู่ มี หน่วยกิต พร้อมใส่ข้อมูลใน Table อย่างละ 3 เรคคอร์ด 1 อาจารย์ที่ปรึกษา รหัสอาจารย์ ชื่ออาจารย์ ห้องพัก

4. จงแปลง ER Diagram ต่อไปนี้ให้เป็นตาราง N 1 M M N พร้อมใส่ข้อมูลใน Table อย่างละ 3 เรคคอร์ด