ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร
Advertisements

COPD Asthma Clinic รพ.นครพนม
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการจัดทำรายงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
รายงานการประเมินตนเอง
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
พระพุทธศาสนา.
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
การพัฒนาระบบงานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ รพ.สต.บ้านโป่ง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
การตรวจราชการและนิเทศงาน
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 4 เมษายน 2560

สถานการณ์โรค และการทำงาน COPD ภาพรวม 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน เขตบริการสุขภาพ ที่ 1 ภาคเหนือพบผู้ป่วยมาก แต่ข้อมูลระดับประเทศ HDC และข้อมูลหน้างานจากการประเมินตนเอง Self Assessment แตกต่างกันมาก ภาคเหนือ Exacerbation บ่อยที่สุด การพัฒนางาน COPD ให้ถูกทาง จะลดค่าใช้จ่ายด้านยา -เวชภัณฑ์ ลดภาระหน่วยบริการ และผู้ดูแล โดยระยะต่างของการทำงานสามารถวัดผลได้ชัดเจน 4. ต่อไป การประเมินมาตรฐานบริการคลินิก COPD คุณภาพ (การวินิจฉัย การติดตามฟื้นฟูสภาพปอด ,การเข้าถึงยา ICS/LABA, การเลิกบุหรี่ ) จากโปรแกรมกลางทั้งประเทศ

ข้อมูลโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ (ข้อมูลต่อแสนประชากร ที่มา HDC :: 24 มีนาคม 2560)

การเปรียบเทียบข้อมูลจาก HDC และ ข้อมูลประเมินตนเองจากหน่วยบริการใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน self Assessment (SA)

Self Assessment ข้อมุจากหน่วยบริการ

ข้อมุจากหน่วยบริการ

24/24 24/24

ตัวชี้วัดงานดำเนินการดูแลรักษา COPD

การใช้ประโยชน์โปรแกรม ผู้บริหารในกระทรวง เขต จะช่วยคนทำงานในพื้นที่ได้ จากการพิจารณา องค์ความรู้ในปัญหา และข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงความรุนแรง ผลกระทบ และ กระบวนการจัดการลดภาระ แก้ไขปัญหา การทำงาน COPD หากมีข้อมูลสนับสนุนจะเห็นชัดในภาพคนไข้เข้าถึงการรักษา และ ค่ายาที่ถูกลง

อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร ประเภทตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ 20 ปี เป้าหมายผลการดำเนินงาน ประชาชนมีสุขภาพดี คำนิยาม อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หมายถึง อัตราการกำเริบเฉียบพลันที่ต้องเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินและหรือต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ (ICD J44.0, 44.1) ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ โดยให้ รหัส ICD-10 J440-J441 เป็นโรคหลัก (PDx ) ในเวชระเบียน

อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร วัตถุประสงค์ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการป้องกันการกำเริบเฉียบพลัน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ในเขตรับผิดชอบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล ใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน 43 แฟ้มของสถานพยาบาล และ โปรแกรมการลงระบบบันทึกคลินิคโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD Quality of Care) แหล่งข้อมูล จากทุกเครือข่ายเขตบริการสุขภาพในกระทรวงสาธารณสุข รายการข้อมูล 1 A = จำนวนครั้งของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคหลัก (PDx = J440-J441) รายการข้อมูล 2 B = จำนวนประชากรกลางปี อายุ๑๕ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบจากฐานข้อมูลประชากร สูตรคำนวณตัวชี้วัด A/B x 100,000 ระยะเวลาประเมินผล ปีละ 1 ครั้ง ติดตามการเปลี่ยนแปลง ทุก 3 เดือน

คำอธิบายเพิ่มเติม การกำเริบ (exacerbation) นิยาม : ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยขึ้น ไอ เสมหะเปลี่ยนสี กิจวัตรทำได้ลดลง ได้ยา systemic steroids (ฉีดหรือกิน) ลงรหัส J44.1 (ได้ยาพ่น ดีขึ้นแล้วกลับบ้าน ไม่ใช่ exacerbation) -มีภาวะ การติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจส่วนล่างและได้รับยาฆ่าเชื้อปฏิชีวนะ กรุณาลงรหัส J44.0 ภาวะอื่นที่ไม่ใช่การกำเริบรุนแรงเช่นหอบมากขึ้นเล็กน้อยจาก ยาพ่นหมดก่อนให้ลง รหัส J44.9 การคิดจำนวนครั้งของการกำเริบ :ให้คิดทุกครั้งที่มาห้องฉุกเฉิน ถ้าผู้ป่วยรายนั้นได้รับการ admit หลังจากเข้าห้องฉุกเฉินให้นับเป็น 1ครั้ง ถ้ามีการส่งต่อในเขตจังหวัดเดียวกัน ให้นับการ exacerbationที่โรงพยาบาลต้นทาง

คำอธิบายเพิ่มเติม นับจำนวนครั้งที่เกิดการกำเริบทั้งปี มาเปรียบเทียบกับประชากรกลางปีที่อายุ 15 ปีขึ้นไป ของจังหวัดนั้นๆ เช่น ประชากรกลางปีมี 1 ล้านคน การกำเริบทั้งปี 1,000 ครั้ง คำตอบคือ 100 ครั้งต่อแสนประชากร การวินิจฉัย : ไม่ลง วินิจฉัย COPD และ Chronic bronchitis ในคนที่อายุ น้อยกว่า 40 ปี

อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน เกณฑ์เป้าหมาย : 60 % ปีงบประมาณ 60 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 60 % 65 % 70 % 75 % 80 % วัตถุประสงค์ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการรักษาโรคเรื้อรัง ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ในเขตรับผิดชอบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมการติดตามและฐานข้อมูลผู้ป่วยใน 43 แฟ้มของสถานพยาบาล แหล่งข้อมูล รายการข้อมูล 1 A = จำนวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการประเมินและติดตามครบ 4 ประเด็น รายการข้อมูล 2 B = จำนวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังทั้งหมดในโรงพยาบาล สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 ระยะเวลาประเมินผล ปีละ 1 ครั้ง ติดตามการเปลี่ยนแปลง ทุก 3 เดือน

อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน เกณฑ์เป้าหมาย : 60 % ประเภทตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ 20 ปี เป้าหมายผลการดำเนินงาน ประชาชนมีสุขภาพดี คำนิยาม อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน ได้แก่ - วินิจฉัยถูกต้องตามมาตรฐานการรักษา - มีการติดตามการรักษาเช่น MMRC, CAT score - มีการประเมินการใช้ยาพ่นควบคุม (controller) - ให้ค่าแนะน่าการสูบบุหรี่ในผู้ที่ยังสูบ

โรงพยาบาลระดับ F/M/A/S ต้องมีข้อมูลครบตามตารางของ Hospital level ดังตารางข้างบนจะนับเป็น 1 Case นับจำนวน Case ป่วยที่ผ่านการประเมินตามตาราง หารด้วยจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่นำมาจาก ข้อมูล ICD 10 : J44 (จำนวนคน) แล้วคูณด้วย 100 เป็นคำตอบ เช่น โรงพยาบาลมีผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 400 คน ผ่านการประเมินตามมาตรฐานข้างต้น 100 คน อัตราการมีคลินิกครบวงจรและ ได้มาตรฐาน = 100/400 X 100 = 25% แนะนำให้ลงข้อมูลผ่าน http://203.157.32.43/copd ระบบดำเนินการคำนวณให้

คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ A/S ต้องประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด √ การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตาม 6 minute walk test การประเมินภาพเอกซเรย์ยืนยันไม่ใช่ ภาวะโรคอื่น การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม Pulmonary rehabilitation เมื่อมี MMRC > 2 หรือมี exacerbation การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ M ต้องประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด √ การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตาม 6 minute walk test การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังระดับ F ต้องประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานในครั้งแรก ข้อมูลที่ต้องมีปีละครั้ง การประเมินสมรรถภาพปอด √ การประเมินการสูบบุหรี่ การติดตาม MMRC การติดตาม CAT การติดตามการใช่ยาพ่นควบคุม การฉีดยาไข้หวัดใหญ่

การลงระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD Quality of Care เปิด URL http://203.157.32.43/copd

การใช้ประโยชน์ โปรแกรม 1.ผู้บริหารระดับ กระทรวง เขต พิจารณาช่วยพัฒนาเครือข่าย COPDจากข้อมูลโปรแกรม 2.เห็นผลการทำงาน ระยะยาว ด้านการเข้าถึงบริการ ลดความรุนแรงโรคจากการดูแลทั้งระบบ และการรักษาที่ถูกทาง ค่ายาแทนที่จะเพิ่มกลับลดลง 3.มี คำแนะนำจาก guild line ช่วยคำนวณ ปริมาณ อัตรา ทุกระยะที่กรอกข้อมูลคนไข้แต่ละราย 4.ประเมิน การทำงาน COPD คุณภาพของหน่วยบริการแต่ละแห่ง

จำนวนผู้ป่วยที่ลงทะเบียน ผลงานการลงข้อมูลระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD Quality of Care เขตสุขภาพที่ 1 ณ วันที่ 29 มีนาคม 60 เขตที่ 1 จำนวน รพ.ที่ลงข้อมูล จำนวน รพ.ทั้งหมด จำนวนผู้ป่วยที่ลงทะเบียน เชียงใหม่ 4 24 235 ลำพูน 8 326 ลำปาง 13 1,719 แพร่ 151 น่าน 12 15 1,175 พะเยา 7 9 91 เชียงราย 18 1,247 แม่ฮ่องสอน 1 รวม 49 102 4,945

ผลงานการลงข้อมูลระบบบันทึกคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD Quality of Care จังหวัดเชียงใหม่

ขอความร่วมมือลงข้อมูล พวกเราชาวเชียงใหม่ช่วยกันนะ ค๊าบ ขอความร่วมมือลงข้อมูล ผู้ป่วยCOPD ที่มารับบริการ COPD clinic ในหน่วยบริการจังหวัดเชียงใหม่ 10,554 คน อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 %

อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 % ผู้ป่วยCOPD ที่มารับบริการ COPD clinic ในหน่วยบริการจังหวัดเชียงใหม่ 10,554 คน อย่างน้อย หน่วยบริการละ 20 % รพ. จำนวน ลงข้อมูล 20 % ลงแล้ว นครพิงค์ 988 198 ฝาง 614 123 จอมทอง 803 161 1 สันป่าตอง 591 118 สันทราย 127 25 เชียงดาว 252 50 หางดง 328 66 แม่อาย 594 119 ไชยปราการ 326 65 เวียงแหง 204 41 พร้าว 448 90 สะเมิง 4 รพ. จำนวน ลงข้อมูล 20 % ลงแล้ว แม่แตง 560 112 ดอยสะเก็ด 400 80 42 สันกำแพง 631 126 4 แม่ออน 352 70 196 สารภี 267 53 แม่วาง 217 43 ดอยหล่อ 236 47 เทพรัตน์ 173 35 ฮอด 378 76 ดอยเต่า 1540 308 อมก๋อย 216 วัดจันทร์ฯ 105 21