วัฏจักรสารในระบบนิเวศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BIOGEOCHEMICAL CYCLE.
Advertisements

การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
สารที่เข้ากันไม่ได้.
Periodic Table.
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
Sarote Boonseng Nucleic acids.
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
Protein and Amino Acid Metabolism
Energy Flow and Mineral Cycling
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Citric Acid Cycle.
10.11 ภัยแล้ง (Drought) เป็นสภาวะการขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น เป็นช่วงเวลาที่ขาดฝนเป็นระยะเวลานาน ความแห้งแล้งอาจเกิดขึ้นได้ในบางช่วงที่มีความชื้นไม่เพียงพอที่จะให้แก่พืชได้
9.1 นิยามและ ความหมาย Evaportranspiration = Evaporation + Transpiration Evaporation = The transfer of water into the atmosphere from the free water surface,
Carbohydrate
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ความรู้เรื่องอัคคีภัย Fire Prevention And Control
ดับเพลิงขั้นต้น ทรงพล หอมอุทัย.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Covalent B D O N.
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในอดีต
(Introduction to Soil Science)
บทที่ 6 การจัดการของเสียอันตราย (Hazardous waste management)
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(Introduction to Soil Science)
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
อุตสาหกรรมการผลิตและ การใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์
กรด - เบส ครูกนกพร บุญนวน.
บทที่ 5 ระบบกำจัดขยะ (Solid Waste Disposal)
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
การตรวจสอบพันธุ์ปนในข้าว ด้วยการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
สิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
การสังเคราะห์ด้วยแสง
CARBOHYDRATE METABOLISM
ยีนและโครโมโซม นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การสังเคราะห์ด้วยแสง
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
Day off Afternoon off (shopping) Mon Tues Wed Thur Fri Sat Sun 30/3
วัฏจักรของเซลล์ และการแบ่งเซลล์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัฏจักรสารในระบบนิเวศ

วัฏจักรสารในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ในระบบนิเวศจะใช้แร่ธาตุและสารจากสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต ในขณะเดียวกันก็จะปล่อยสารกลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการหมุนเวียนเป็นวัฏจักรและถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 1.วัฏจักรของสารที่มีการหมุนเวียนโดยไม่ผ่านบรรยากาศ เช่น ฟอสฟอรัส แคลเซียม เป็นต้น 2.วัฏจักรของสารที่มีการหมุนเวียนผ่านบรรยากาศ โดยมีวัฏจักรหลักที่สำคัญ 3 วัฏจักรที่ควรศึกษา ดังนี้ วัฏจักรน้ำ วัฏจักรไนโตรเจน และวัฏจักรคาร์บอน

วัฏจักรน้ำ (water cycle) น้ำ (H2O) เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในระบบนิเวศ เพราะนอกจากจะเป็นองค์ประกอบของเซลล์แล้ว น้ำยังเป็นตัวกลางสำคัญของกระบวนการต่างๆในสิ่งมีชีวิต เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดระบบนิเวศชนิดต่างๆ การหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศ เกิดจาก 2 กระบวนการ คือ การระเหย (evaporation) และการกลั่นตัวเป็นฝนตกลงสู่ผิวโลก (precipitation)

วัฏจักรน้ำ (water cycle)

วัฏจักรคาร์บอน (carbon cycle)

วัฏจักรคาร์บอน (carbon cycle) ผู้ผลิตจะรับคาร์บอนในรูปของCO2 เพื่อนำไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง เมื่อสัตว์กินพืชก็จะได้รับสารประกอบเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์และสร้างเป็นเนื้อเยื่อ เมื่อพืชและสัตว์ตายลง แบคทีเรีย เห็ดรา จะย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ ตลอดจนสิ่งขับถ่าย ให้เป็น CO2 และน้ำ กลับคืนสู่บรรยากาศ รวมทั้งการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงก็จะได้ CO2 คืนสู่บรรยากาศได้อีก ทั้งพืชและสัตว์จะคืนคาร์บอนสู่บรรยากาศในรูปของ CO2 โดยกระบวนหายใจ

วัฏจักรคาร์บอน (carbon cycle)

วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle)

วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle) แอนาบีนาที่อยู่ร่วมกับแหนแดง สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ โดยจะเปลี่ยนให้เป็นสารประกอบไนโตรเจน ปมรากของพืชตระกูลถั่วเกิดจากแบคทีเรียไรโซเบียมซึ่งสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศและ ในดินได้

วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle) วัฏจักรไนโตรเจนประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญ คือ 1. การตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixation) 2. การเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเป็นแอมโมเนีย (ammonification) 3. การเปลี่ยนเกลือแอมโมเนียมเป็นไนไตรท์และไนเตรต (nitrification) 4. การเปลี่ยนไนเตรต กลับเป็นแก๊สไนโตรเจนในบรรยากาศ (denitrification)

วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle)

วัฏจักรฟอสฟอรัส (phosphorus cycle) ประกอบของ สารพันธุกรรม เช่น DNA RNA เป็นส่วนประกอบของสาร พลังงานสูง เช่น ATP ADP เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ ของกระดูกและฟันใน สัตว์พืชนำไปใช้ในการเจริญเติบโต เพื่อสร้างความแข็งแรงและผลผลิตให้สูงขึ้น เป็นอีกธาตุหนึ่งที่มีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร

วัฏจักรฟอสฟอรัส (phosphorus cycle) 1. แหล่งสะสมฟอสฟอรัส คือ ดิน หิน โดยเฉพาะหินและตะกอนที่ทับถมกันอยู่ที่ใต้ทะเล 2. สำหรับฟอสฟอรัสที่สะสมอยู่ในดิน เมื่อถูกกัดกร่อนหรือชะล้างตามธรรมชาติก็จะได้สารฟอสเฟต ซึ่งพืชสามารถดูดไปใช้ได้ 3. เมื่อสัตว์กินพืช สารนี้ก็จะถูกถ่ายทอดไปยังสัตว์ 4. เมื่อพืชและสัตว์ตายลงจะถูกย่อยสลาย ได้สารประกอบฟอสเฟตทับถมอยู่ในดิน และบางส่วนจะลงสู่แหล่งน้ำ

วัฏจักรฟอสฟอรัส (phosphorus cycle)

วัฏจักรกำมะถัน (sulfur cycle) กำมะถัน (S) คือ ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนในพืช และสัตว์ โดยเฉพาะกรดอะมิโนที่จำเป็นบางชนิด รวมทั้งวิตามินและโคเอนไซม์บางชนิด จะพบกำมะถันบริสุทธิ์จากบริเวณที่มีภูเขาไฟระเบิด หรือบริเวณน้ำพุร้อน กำมะถันส่วนใหญ่ที่พบจะอยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น SO2 H2S พวกซัลไฟด์ และซัลเฟต เป็นต้น

วัฏจักรกำมะถัน (sulfur cycle) สิ่งมีชีวิตไม่สามารถนำกำมะถันมาใช้โดยตรงได้แต่จะนำมาใช้ในรูปของ สารประกอบ โดยที่พืชดูดซัลเฟตในดินไปสร้างเป็นอินทรียสารในพืช - สัตว์ได้กำมะถันจากการบริโภคพืช - เมื่อพืชและสัตว์ตายลง ก็จะถูกสลายโดยผู้ย่อยสลายอินทรียสาร จนได้สารประกอบซัลเฟตที่ละลายน้ำได้อยู่ในดิน ทำให้พืชนำไปใช้ได้อีก

วัฏจักรกำมะถัน (sulfur cycle)