การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
แนวความคิดพื้นฐาน แนวคิดเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานนั้นได้รับอิทธิพลมา จากการแสการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจอุตสาหกรรมที่ประสบ ความสำเร็จจาก หลักการ วิธีการ และกลยุทธ์ในการทำให้องค์การมี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิพลและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดี ขึ้นนั้น ต้องปรับกระบวนการและวิธีการที่เคยเน้นแต่เรื่องการเรียนการ สอน ปรับไปสู่การบริหาร โดยการกระจายอำนาจไปยังโรงเรียนที่เป็น หน่วยปฏิบัติและให้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการบริหารและจัด การศึกษาอย่างแท้จริง
ความหมาย ของ sbm Sbm คือ แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาที่มุ่งให้สถานศึกษาที่มุ่งให้สถานศึกษาเป็นองค์กรหลักในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ (Efficiency & Effectiveness School ) ภายใต้กรอบของกฎหมายที่กำหนด โดยมีการกระจายอำนาจการตัดสินใจที่จะพัฒนานโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของสถานศึกษาและร่วมมือดำเนินการ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป โดยบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน โดยมุ่งเน้นผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดกับผู้เรียนเป็นสำคัญ ภายใต้การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หลักการ โดยทั่วไป ได้แก่ 1. หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization) หลักการสำคัญในการบริหารแบบ (School-Based Management) โดยทั่วไป ได้แก่ 1. หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization) 2. หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement) 3. หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People)
หลักการ (ต่อ) 4. หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) 5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance)
รูปแบบในการดำเนินการของบริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน รูปแบบในการดำเนินการของบริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 1. รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (community Control SBM) 2. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administrative Control SBM) 3. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) 4. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM)
รูปแบบในการดำเนินการของบริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (ต่อ) รูปแบบในการดำเนินการของบริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (ต่อ) 5. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) 6. รูปแบบโรงเรียนในกำกับของรัฐ 7. รูปแบบที่เป็นการบริหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8. รูปแบบการประกอบการของเอกชน
ปัจจัยที่เอื้อต่อการนำรูปแบบการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไปใช้ 1. กระจายอำนาจไปยังคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างแท้จริง 2. ได้รับการยอมรับจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งหน่วยงานส่วนกลางและบุคลากรใน โรงเรียน 3. มีการประชาสัมพันธ์ที่ดี ระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 4. บุคลากรในสำนักงานเขตการศึกษาและในโรงเรียนต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 5. ผู้บริหารมีความรู้ ความสามารถและมีภาวะผู้นำ 6. ผู้บริหาร บุคลากรในโรงเรียน รู้บทบาทหน้าที่ของตน
เงื่อนไขของความสำเร็จ 1. มีการกำหนดหน้าที่ ขอบข่าย บทบาทและคู่มือแนวทางการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาการศึกษา 2. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษาและคณะกรรมการ สถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อปรับบทบาทกระบวนการ ทำงานแบบกระจายอำนาจของทุกฝ่าย 3. กระจายอำนาจให้ชุมชนมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา 4. สร้างระบบฐานข้อมูลในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาที่มี ประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการดำเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School – Based Management Process ) 1. วิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน 2. กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย 3. กำหนดกลยุทธ์ วางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ 4. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ 5. ประเมินตนเอง ประเมินภายใน 6. รายงานประจำปี รายงานการประเมินตนเอง
กลยุทธ์สู่ความสำเร็จของ SBM การพัฒนาวิชาชีพผู้บริหาร การพัฒนาวิชาชีพครู การมีวิสัยทัศน์ การบริหารจัดการที่เป็นระบบ พัฒนาการมีส่วนร่วมในเรื่องการบริหารหลักสูตร การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การมีวิธีคิดและวิธีปฏิบัติงานที่เป็นระบบ การให้รางวัล
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน แนวทางการดำเนินงาน การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ความคาดหวังของสังคม ประเทศชาติ การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข *เป็นการศึกษาตลอดชีวิตของประชาชน *ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา *พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความคาดหวังของสังคม ประเทศชาติ ความคาดหวังของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน โรงเรียน การปฏิรูปการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การปฏิรูปการศึกษาของโรงเรียน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งที่จะทำให้ ระบบบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาประสบ ความสำเร็จโดยสถานศึกษาต้องจัดทำสาระของเน้นความหลักสูตรที่ สอดคล้องความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน และผู้เรียน ประกอบกับจัด กระบวนการเรียนรู้และประเมินผู้เรียนให้สอดคล้องพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การพัฒนาวิชาชีพผู้บริหาร ผู้บริหารนั้นถือว่าเป็นบุคคลที่มีอำนาจในการตัดสินใจของ โรงเรียน การเปลี่ยนสภาพมาเป็นการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานนั้น บทบาทของผู้บริหารจะเปลี่ยนไป โดย มุ่งเน้นการเป็นผู้นำ การใช้แบบผู้นำ แบบสนับสนุน การใช้ การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การสร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องเกี่ยวกับ การบริหารฐานโรงเรียน ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องใน การบริหารจัดการ และการตัดสินใจของโรงเรียน โดยเฉพาะ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร และครู- อาจารย์ ทุกคนใน โรงเรียน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ความ ตระหนัก ในความรับผิดชอบ การใช้อำนาจหน้าที่ให้มี ประสิทธิผล