Structure of Flowering Plant

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Leaf Monocots Dicots.
Advertisements

Cell Specialization.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
โครเมี่ยม (Cr).
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
เริ่มต้นออกแบบ Unit7.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การเติบโตของพืช 1. เส้นโค้งของการเติบโต (Growth curve)
Tree.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Structure of Flowering Plant โครงสร้างของพืชดอก Structure of Flowering Plant

การจัดจำแนกพืช พืช ไม่มีเนื้อเยื่อลำเลียง มีเนื้อเยื่อลำเลียง ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด เมล็ดเปลือย เมล็ดมีเปลือกหุ้ม มอส, ลิเวอร์เวิร์ต ฮอร์นเวิร์ต มะเมื่อย แป๊ะก๊วย ปรง สนสองใบ สนสามใบ พืชดอก สนหางสิงห์, สร้อยสุกรม, เฟิน หวายทะนอย, หญ้าถอยปล้อง

โครงสร้างของพืชดอก พืช ทุกชนิดย่อมประกอบด้วยเนื้อเยื่อ (tissue) และต้นอ่อน (embryo) โดยเนื้อเยื่อพืชที่ประกอบกันเป็นโครงสร้างส่วนต่างๆของพืชสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น แบ่งตามความสามารถในการแบ่งเซลล์ หน้าที่ ลักษณะโครงสร้าง หรือตามตำแหน่งที่อยู่

เนื้อเยื่อของพืชดอก หากจำแนกพืชตามความสามารถในการแบ่งเซลล์จะสามารถแบ่งเนื้อเยื่อพืชออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. เนื้อเยื่อเจริญ (meristem) คือ เนื้อเยื่อที่สามารถแบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต 2. เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue) คือ เนื้อเยื่อที่ไม่สามารถแบ่งเซลล์ได้อีก เป็นองค์ประกอบหลักของพืช

เนื้อเยื่อของพืชดอก 1. เนื้อเยื่อเจริญแบ่งได้เป็น 1.1 เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นแรก (primary growth) ทำให้ต้นไม้สูงขึ้นๆ 1.2เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นที่สอง secondary growth ทำให้ต้นไม้ขยายขนาดด้านข้างๆ

เนื้อเยื่อของพืชดอก 1. เนื้อเยื่อเจริญแบ่งได้เป็น 1.1 เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นแรก (primary growth) ทำให้ต้นไม้สูงขึ้นๆ - เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) พบที่ราก หรือที่ยอด - เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)พบเฉพาะในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด

เนื้อเยื่อของพืชดอก 1.2เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นที่สอง (secondary growth) ทำให้ต้นไม้ขยายขนาดด้านข้างๆ -เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem, cambium) มีสองชนิด ได้แก่ cork cambium และ vascular cambium

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร ตามปกติแล้วไม่แบ่งเซลล์ต่ออีก พบเป็นองค์ประกอบหลักของพืชมีหน้าที่แตกต่างกันไปที่สำคัญได้แก่ 2.1 เนื้อเยื่อผิว (epidermis) 2.2พาเรงไคมา (parenchyma) 2.3 คอลเลนไคมา (collenchyma) 2.4 สเคลอเรงไคมา (sclerenchyma) 2.5 เนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ (xylem) 2.6 เนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร (phloem)

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร 2.1 เนื้อเยื่อผิว (epidermis) พบส่วนนอกสุดของพืช ได้แก่ เซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell), เซลล์คุม (guard cell), เซลล์ขนราก (root hair cell)

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร 2.2 พาเรงไคมา (parenchyma) ทำหน้าที่เป็นเนื้อเยื่อพื้นฐานของพืช โดย parenchyma ที่มี chloroplast อยู่ จะเรียกว่า chlorenchyma 2.3 คอลเลนไคมา (collenchyma) มีผนังหนากว่า parenchyma และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อพืชทั่วๆไปในส่วนที่มีการเจริญเติบโต โดยมักพบในเนื้อเยื่อของพืชในส่วนที่ยังอ่อน เช่น ก้านใบ เส้นกลางใบ ลำต้น ***ไม่พบในราก

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร 2.4 สเคลอเรงไคมา (sclerenchyma) ทำหน้าที่สร้างความแข็งแรงสุดๆ เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว มี 2 ประเภทได้แก่ - ไฟเบอร์ (fiber) แข็งเหนียว อยู่ในโครงสร้างที่โค้งงอ - สเคอรีด (sclereid) แข็ง กรอบ บางครั้งเรียก stone cell เช่น กะลามะพร้าว

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร 2.5เนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ (xylem) เป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุจากรากขึ้นไปยอด ประกอบด้วย เซลล์ลำเลียงน้ำ คือ เทรคีด (tracheid) และ เวสเซล (vessel)

เนื้อเยื่อของพืชดอก 2. เนื้อเยื่อถาวร 2.6 เนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร (phloem) ลำเลียงน้ำตาลจากที่สร้างไปยังที่อื่นๆประกอบด้วย Sieve tube member และ companion cell

เนื้อเยื่อของพืชดอก เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบ ได้แก่ 1. Dermal tissue (เนื้อเยื่อผิว) ปกป้องอันตราย 2. Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้นฐาน) สร้างและสะสมอาหาร 3. Vascular tissue (เนื้อเยื่อลำเลียง) ลำเลียงสาร

เนื้อเยื่อของพืชดอก ระบบเนื้อเยื่อของพืช (Tissue systems) 1. เนื้อเยื่อผิว (Dermal tissue) ทำหน้าที่คล้ายกับผิวหนังของสัตว์ พบส่วนนอกสุดของพืช ได้แก่ เซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell), เซลล์คุม (guard cell), เซลล์ขนราก (root hair cell)

เนื้อเยื่อของพืชดอก ระบบเนื้อเยื่อของพืช (Tissue systems) 2. เนื้อเยื่อพื้นฐานของพืช (Ground tissue) พบแทรกตัวอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อผิวและเนื้อเยื่อลำเลียงเป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่สร้างและสะสมอาหาร พบในทุกส่วนของพืชบริเวณที่นอกเหนือจากเนื้อเยื่อชั้นผิวและเนื้อเยื่อลำเลียง ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิดด้วยกันได้แก่ collenchyma cells, parenchyma cells และ sclerenchyma cells

เนื้อเยื่อของพืชดอก ระบบเนื้อเยื่อของพืช (Tissue systems) 3. เนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular tissue) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิด ได้แก่ -เนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ (xylem)ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว 2 ชนิด ได้แก่ vessel และ tracheid cells - เนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร (phloem) ประกอบด้วยเซลล์ที่ยังมีชีวิต 2 ชนิด ได้แก่ sieve tube member และ companion cell

จุดเน้น พืช ไม่มีเนื้อเยื่อลำเลียง มีเนื้อเยื่อลำเลียง ไม่มีเมล็ด เมล็ดเปลือย เมล็ดมีเปลือกหุ้ม มอส, ลิเวอร์เวิร์ต ฮอร์นเวิร์ต มะเมื่อย แป๊ะก๊วย ปรง สนสองใบ สนสามใบ พืชดอก สนหางสิงห์, สร้อยสุกรม, เฟิน หวายทะนอย, หญ้าถอยปล้อง

จุดเน้น ผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วย 2 ชั้น 1. Primary cell wall อยู่ติดกับ middle lamella มีการพอกของ cellulose, hemicellulose, pectin 2. Secondary cell wall อยู่ติดกับ cytosol มี cellulose, hemicellulose มากขึ้น มีการพอกของสารให้ความแข็งแรง โดยเฉพาะ lignin

จุดเน้น ระบบเนื้อเยื่อของพืช (Tissue systems) xylem ของพืชมีท่อลำเลียงแต่ไม่ใช่พืชดอก (เช่นเฟิน gymnosperm) ไม่มี vessel มีแต่ tracheid ส่วน phloem ไม่มี sieve tube member และ companion cell แต่มีเซลล์เรียก sieve cell ***โครงสร้างรากและลำต้น ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ ชั้นนอก (cortex) และชั้นใน (stele) ซึ่งในราก cortex จะกว้าง stele จะแคบ ตรงข้ามกับในลำต้นที่ cortex จะแคบ stele จะกว้าง