1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Label Maker 1.1 โปรแกรม Label Maker เป็นโปรแกรมเล็ก ๆ ซึ่งเกิดการความร่วมมือระหว่างบรรณารักษ์และพนักงานด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมกันหาวิธีที่จะปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในงานประจำวัน.
Advertisements

บทบาทของศูนย์บริหารงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
Report การแข่งขัน.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนงานที่ 3 : ลดการละเมิดการใช้ไฟฟ้า/มิเตอร์ชำรุด
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
รายงานการประเมินตนเอง
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
สรุปผลการตรวจราชการฯ
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
Scinario 2.
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
การเขียนรายงานการวิจัย
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1

เป้าหมายประเทศ : ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายระดับจังหวัด : ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง

Success จังหวัดตาก EOC ระดับจังหวัดซ้อมแผนหรือยกระดับเปิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด จัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดภารกิจปฏิบัติการ(Operation Section) ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 5 4 3 2 1

สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดตากเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 1. ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหารอย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน - นพ.สสจ. และผชชว. IC : มีการเปิดบัญชาการเหตุการณ์จริง ยกระดับEOC -ไข้เลือดออก (21 มิ.ย.61) การให้ภารกิจอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างEOC จังหวัด เข้ามาร่วมปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ตนเอง 2. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - คำสั่ง MERT, EMS, MCAT, CDCU การจัดตั้งทีม CDCU ให้มีคุณสมบัติ ตาม พรบ.โรคติดต่อพ.ศ.2558

สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดตากเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 3. จัดทีม SAT ระดับจังหวัด (ภาวะปกติอย่างน้อย 3 คน และภาวะฉุกเฉิน 4 คน) และ 50% - ผ่านการฝึกอบรมตามแนวทาง SAT - SAT จังหวัดไป OJT 3 คน ที่สคร.2 พล - SATวิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและเสนอนพ.สสจ. พิจารณาเพื่อยกระดับ EOC ไข้เลือดออกวันที่ 21 มิ.ย.61 - การเรียนรู้ร่วมกันไม่แยกส่วนของ SAT ในด้านอื่นๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม การบาดเจ็บทางการจราจร เพื่อให้มีประสบการณ์หลากหลาย 3.1. จัดทำ Outbreak Verification list ทุกสัปดาห์ - 1 ม.ค.- 31 ก.ค.61 (31สัปดาห์) จำนวน 24 ฉบับ - - การจัดทำบันทึกสรุปรายงานนำเสนอผู้บริหาร และแจ้งให้ระดับอำเภอเพื่อใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังฯ - สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังตามเกณฑ์ทุกสัปดาห์หากไม่มีให้สรุปเป็น zero report 3.2. จัดทำ Spot Report ได้ตามเงื่อนไข CIRและเวลาที่กำหนด - ร้อยละ 100 (39/39 เหตุการณ์) - พัฒนาระดับอำเภอสามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติและรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ การเขียนเนื้อหาใน spot report ได้ครบถ้วน - SAT จัดทำบันทึกข้อความนำเสนอผู้บริหาร เพื่อสั่งการอย่างเป็นทางการ - การเขียนข้อเสนอแนะของระดับจังหวัดให้ชัดเจน เช่น มอบใคร ระดับอำเภอหรือจังหวัด ดำเนินการ เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ

การดำเนินงานของจังหวัดตาก สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 4. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด -โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ โปลิโอ - -การเขียนรายงาน:ประเมินความเสี่ยงโรคที่สอดคล้องกับปัญหาในช่วงสัปดาห์นั้นๆพร้อมเสนอผู้บริหารเพื่อให้พิจารณาข้อสั่งการ 5. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ - ซ้อมแผนโปลิโอ Activate EOC เท้าช้าง หมอกควัน ไข้เลือดออก และ 5 อำเภอ(เมือง แม่สอด พบพระ อุ้มผาง และแม่ระมาด) มีการเขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP:Polio) ส่งไฟล์ภายในวันที่ 6 ส.ค. 61 - คุณภาพการเปิด EOC และการใช้แผนเผชิญเหตุ ในระดับจังหวัดและอำเภอ - เขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) เพื่อใช้กำกับ การระดมทรัพยากร ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรค ไม่เกิน second generation - AAR EOC ไข้เลือดออก

ข้อชื่นชม จังหวัดพัฒนาระดับอำเภอให้สามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติ และรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ ข้อเสนอแนะ การพัฒนาศักยภาพทีม SAT ของสสจ.ที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการได้อย่างบูรณาการและเป็นเอกภาพ AARการ activate EOC ระดับจังหวัด และอำเภอ