Operator นิพจน์และตัวดำเนินการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

หลักการเบื้องต้นของภาษาซี
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
Introduction to Programming คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม ( ต่อ ) Chapter 4 Department of Computer Business.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
Lecture no. 5 Control Statements
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 Operator and Expression
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Repetitive Or Iterative
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
PHP.
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
Infix to Postfix มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
องค์ประกอบภาษา C Elements of C Language
1 Special Operators Special Operators ตัวดำเนินการพิเศษ Increment and decrement operators Conditional Operator.
Call by reference.
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
โครงสร้างข้อมูลแบบกองซ้อน (Stack)
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
L/O/G/O นิพจน์และตัว ดำเนินการ. วัตถุประสงค์ สามารถสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่าง ถูกต้อง อธิบายรายละเอียดของชนิดตัวดำเนินการต่าง.
Assembly Languages: PDP8
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
CHAPTER 2 Operators.
Operators & Expression ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Arithmetic Operators OperationOperatorExample Value of Sum before Value of sum after Multiply *sum = sum * 2;
การประยุกต์ใช้ Stack การประยุกต์ใช้ Stack
Introduction to Computer Organization and Architecture Instruction Formats ภาษาเครื่อง รูปแบบคำสั่งเครื่อง.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
SQL (Structured Query Language)
Database Planning, Design, and Administration
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
Stack Sanchai Yeewiyom
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา (Overview of Java Programming Language)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
BC320 Introduction to Computer Programming
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
Linked List Lecturer : Kritawan Siriboon, Room no. 913
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
Chapter 2 ตัวดำเนินการ และนิพจน์.
การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย.
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
นิพจน์และตัวดำเนินการ
พยานหลักฐาน และความชอบด้วยกฎหมายของการสอบสวน
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Operator นิพจน์และตัวดำเนินการ

ชนิดของตัวแปร และรหัสควบคุม 1. จำนวนเต็ม คือ .............? 2. จำนวนจริง คือ ...........? 3. อักขระ (Char) คือ .......?

ตัวดำเนินการ (operator) คือ เครื่องหมายที่ใช้เพื่อแสดงความหมายในการกระทำต่างๆ - ข้อมูลที่ทำงานกับตัวดำเนินการ เรียกว่า ตัวถูกดำเนินการ (operand) - ตัวดำเนินการบางตัวต้องมีตัวถูกดำเนินการ 1 ตัว หรือ 2 ตัวก็ได้ - โดยตัวดำเนินการทั้งหมดจะใช้ตัวถูกดำเนินการในการสร้างนิพจน์

) ตัวดำเนินการ ทางคณิตศาสตร์ (Operation) ตัวดำเนินการ เปรียบเทียบ (Comperation) ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า (increment and Decrement Operation) ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical operation)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Operation)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Operation) ตัวอย่าง 1. 15/3 = 5 2. 12*4 = 48 3. 15*4 = 60 4. 16-4 = 12 5. 1+2+3+4+5+6+7+8+9+10 = 55

ตัวอย่างการใช้ตัวดำเนินการ บวก ลบ คูณ 3+4 = 7 7.0-3.0 = 4.0 6 * 1.5 = 9.0 1.5 – 1 = 0.5 2.25*1.5 = 3.375 5.8 + 3 = 8.8 จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ถ้านำเลขจำนวนจริงกระทำกับเลขใด ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นเลขจำนวนจริงเสมอ ตัวอย่างการใช้ตัวดำเนินการหารแบบต่างๆ 9/2 =4 -14%3=-2 9%2=1 14%-3=2 18%2=0 18/4.2 = ไม่สามารถหาค่าได้ จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า 1.นำเลขจำนวนเต็มหาร(/) เลขจำนวนเต็มผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นเลขจำนวนเต็ม 2. นำเลขจำนวนจริงหาร(/)ด้วย เลขจำนวนเต็ม ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นจำนวนจริง 3. ถ้าเลขจำนวนเต็มหารด้วยจำนวนจริง จะไม่สามารถหารได้

ลำดับในการทำงาน ลำดับที่ 1 วงเล็บ ( ) ลำดับที่ 2 การคูณ * การหาร / การหารแบบเอาเศษ % ลำดับที่ 3 การบวก + การลบ - ลำดับขั้นตอนในการทำงาน ขั้นที่ 1 หากในโจทย์มีการใช้วงเล็บให้คำนวณค่าในวงเล็บก่อน ขั้นที่ 2 หากในโจทย์มีเครื่องหมายที่มีศักดิ์เท่ากันให้ทำจากลำดับซ้ายไปขวาเสมอ

ตัวดำเนินการทางเปรียบเทียบ (Comperation) ตัวอย่าง 1. 1< 3 T 2. 16 > 12 T 3. 16-4 = 12 T 4. 8 > 12 F 5. 7 = 4 F 6. 16-4 = 11 F

ตัวดำเนินการทางเปรียบเทียบ (Comperation)

ตัวดำเนินการทางเปรียบเทียบ (Comperation) จงหาคำตอบจากโจทย์ต่อไปนี้ 1. 16==2-4 T/F 2. 22/11< 55-71*2 T/F 3. 16-4 == 12 T/F 4. 17 >= 12 T/F 5. 54 != 44/11*12 T/F 6. 38-44/2 == 11-2+7 T/F

ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า (increment and Decrement Operation

ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า (increment and Decrement Operation ตัวอย่าง X++ มีความหมายเท่ากับ X = X+1 X- - มีความหมายเท่ากับ X= X-1 X เท่ากับ 10 Y = ++X X เท่ากับ 10 Y= X++ Y = 1+10 Y= 10+1 **Y = 11 **Y = 10 X = 11 X = 11

ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical Operation)

ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical Operation) ตัวอย่าง 1. 1<= 3 T && 9>=3 T 2. 16 > 12 T && 16-4 == 12 T 3. 8 > 12 F ll 8<12 T 4. !(8 > 12) T && !(16<12) T

คำถามท้ายบท จงหาคำตอบจากโจทย์ต่อไปนี้ 35/7 = 7*2.5 = 28/4*22+5-9/3= 8%3= 12%2= 125-5*9= 28/4*22+5-9/3= (28+4)/8*11-((15+6)/7) = 17.5-3*6 = 12.3/3*8= 29/3.2 =