พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
วันที่ 20 กันยายน 2558 อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี นโยบายของนายกรัฐมนตรี “... วันนี้เราจะต้องร่วมมือกันทำให้เกิดความชัดเจนระหว่างภาครัฐ เอกชน ประชาชน และท้องถิ่น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเศรษฐกิจฐานราก...“ วันที่ 20 กันยายน 2558 อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
มุ่งเน้น การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ระดับ 1 – 3 ดาว ข้อสั่งการของรัฐมนตรีว่าการระทรวงมหาดไทย มุ่งเน้น การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ระดับ 1 – 3 ดาว ให้ขายได้ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากที่เป็นรูปธรรม โอทอปตอบโจทย์ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากที่เป็นรูปธรรม ภูมิปัญญา + ทรัพยากร ยกระดับ ผลิตภัณฑ์ รายได้ จำหน่ายสินค้า พัฒนา การตลาด กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
รายได้การจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ชุมชน ปี 2554 70,484,562,093 บาท 3.33 % ปี 2555 79,461,089,057 บาท 12.73 % ปี 2556 86,984,183,563 บาท 9.46 % ปี 2557 97,572,044,611 บาท 12.17 % ปี 2558 109,781,774,847 บาท 12.51 % เป้าหมาย ปี 2559 ยอดจำหน่าย 126,250 ล้านบาท เพิ่มขึ้นมากกว่า 15% กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน1-3 ดาว การทำให้เป้าหมายยอดจำหน่ายปี 59 บรรลุผล (126,250 ล้านบาท) 1 ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน1-3 ดาว 2 พัฒนาผู้ประกอบการ 3 เพิ่มช่องทางการตลาด กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ทำอย่างไร? การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน (1-3 ดาว) เป้าหมายผลิตภัณฑ์ผ่านมาตรฐาน 1,500 รายการ คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่พร้อมและมีศักยภาพ จังหวัดละ 20 ผลิตภัณฑ์ สร้างความรู้พัฒนาผลิตภัณฑ์ ใช้มหาวิทยาลัยในพื้นที่ มหาวิทยาลัยพัฒนามาตรฐาน คุณภาพสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ร่วมกับกลุ่ม หน่วยงานในพื้นที่ติดตาม กำกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามเป้าหมาย ทดสอบมาตรฐานการคัดสรรผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านในระดับ 4-5 ดาว จังหวัด ดำเนินการ พัฒนาเป็นกลุ่ม Cluster เช่น กลุ่ม Green , Young , นวัตกรรม และ โอทอป 5 ประเภท เพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2. กรมฯ ร่วมมือกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) เอกชนและสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ (CP) จับคู่พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นราย Cluster 3. ทดสอบตลาดและปรับปรุงพัฒนาให้ได้มาตรฐานเป็นที่ต้องการของผู้ซื้อ กรมฯ ดำเนินการ งบประมาณรองรับ 68,617,200 บาท กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ทำอย่างไร? 1 2 3 4 5 พัฒนาผู้ประกอบการ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่พร้อมและมีศักยภาพทั่วประเทศ 2,280 ราย/กลุ่ม 2 ให้องค์ความรู้ ถอดบทเรียน OTOP ที่ประสบความสำเร็จ โดย OTOP Academy (พช. + สถาบันปัญญาภิวัฒน์) 3 พัฒนาให้เป็น Smart OTOP เน้นการให้ความรู้นวัตกรรมใหม่ (KBO) 4 รวมตัวสร้างเครือข่ายให้เป็น Cluster 5 ในแต่ละจังหวัดพัฒนาให้มีผู้ประกอบการมืออาชีพ (Trader) งบประมาณปี 2559 56,676,000 บาท กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เพิ่มช่องทางตลาดใหม่ ช่องทางตลาดที่ทำอยู่ เพิ่มช่องทางการตลาด เพิ่มช่องทางตลาดใหม่ ช่องทางตลาดที่ทำอยู่ 1. OTOP ขึ้นเครื่องบิน 2. On Line E-Commerce 2 แห่ง บริษัทมอลล์ (ประเทศไทย) จำกัด เว็บไซต์ไทยแลนด์มอลล์ (ได้ข้อตกลงแล้ว) สมาคมส่งเสริมเศรษฐกิจและความร่วมมือการค้าอาเซียน-จีน เว็บไซต์ OTOO (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ตลาดระดับจังหวัด ตลาดระดับประเทศ OTOP City 1 ครั้ง (1,004 ล้านบาท) 2. OTOP Midyear 1 ครั้ง (6-13 มิถุนายน 2559) 3. งานศิลปาชีพ ประทีปไทย OTOP ก้าวไกล ด้วยพระบารมี 1 ครั้ง 4. งาน OTOP To The Town 5 ครั้ง (65 ล้านบาท) 5. ศูนย์จำหน่าย สินค้าใต้ทางด่วน กมท. 3 แห่ง (115.2 ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ 128 รายการ รูปแบบจำหน่าย 1. บนเครื่องบิน 2. ผ่านแคตตาล็อค 3. E-commerce 4. ร้านสนามบิน เริ่ม 1 พ.ค. 59 / 1 ก.ค. 59 ตลาดนัดชุมชน ไทยช่วยไทย คนไทยยิ้มได้ 2,039 แห่ง (ผู้ขาย 4.47 ล้านราย) ยอดจำหน่าย 5,299 ล้านบาท 2. ศูนย์จำหน่ายและงาน OTOP กระจาย ทั่วไป (304 ครั้ง) เป้าหมาย ระยะแรก (59) ภูมิภาค 5 แห่ง ระยะที่สอง ระดับจังหวัดต่าง ๆ 3. สร้าง Trader 4. ประชารัฐ สุขใจ SHOP เป้าหมาย 148 แห่ง ในปั๊ม ปตท. เริ่ม 8 เม.ย. 59 (พช.บริหาร) ตลาดระดับภูมิภาค OTOP ภูมิภาค 5 ครั้ง 5. ร่วมมือกับเอกชน Tesco Lotus กระเช้าของขวัญ 300,000 ใบ (สั่งชุดแรก 80,000 ใบ) สมาคมฯ อาเซียน-จีน ร่วมงานหยุนฝาง แฟร์ (22 เม.ย.59) จำหน่ายสินค้าที่ห้างสรรพสินค้า หยุนฝาง (สต็อกสินค้า OTOO) สมาคมร้านขายยาแห่งประเทศไทย สมาชิก 40,000 ร้าน ต้องการ ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องดื่ม และสปา (อยู่ระหว่างเจรจา) 6. OTOP เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว 18 จังหวัด ตลาดระหว่างประเทศ OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 28 ครั้ง (จัดแล้ว 14 ครั้ง) ใช้งบประมาณ 125,509,500 บาท ใช้งบประมาณ 428,000,000 ล้านบาท
การขยายผลให้บรรลุเป้าหมายเร็วขึ้น โดยใช้รูปแบบ SE
ผลประโยชน์ที่ได้ 1 สร้างภาพลักษณ์ความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นเด่นชัด 2 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รายได้เพิ่มขึ้นเป็น 126,250 ล้านบาท (15%) 3 ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 4 ชาวบ้านมีอาชีพมั่นคง 40,694 ราย/กลุ่ม 5 แก้ปัญหาภัยแล้ง ปรับเปลี่ยนอาชีพนอกภาคการเกษตร กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย