การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ เกิดจากการนำขดลวดตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในขดลวด
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) การทดลอง หาแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำ โดยการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการเคลื่อนที่ โดยให้ ความหนาแน่นสนามแม่เหล็ก และความยาวของขดลวดตัวนำ คงที่
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) จากความสัมพันธ์ ทั้ง 3 อย่างนี้ นำมาเขียนสมการได้ดังนี้ e = B*l*v e = แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำ (v) B = ความหนาแน่นสนามแม่เหล็ก (wb/m2) l = ความยาวขดลวด (m) v = ความเร็วในการเคลื่อนที่ของขดลวด (m/s)
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อตัวนำเคลื่อนที่ตัดกับสนามแม่เหล็กในทิศทางเป็นวงกลม (หมุนรอบตัวเอง) ซึ่งเป็นหลักการเบื้องต้นของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Genertor)
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) ส่วนประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ขั้วแม่เหล็ก ขั้วเหนือ(N) ขั้วใต้(S) เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศทางไหลจากขั้วเหนือ ไป ขั้วใต้ ขดลวดตัวนำ เรียกว่า อาร์เมเจอร์ (Armature) ปลายของอาร์เมเจอร์จะต่ออยู่กับ สลิปริง 2 วง ซึ่งจะหมุนไปพร้อมกับขดลวด เพื่อนำกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นส่งไปยังวงจรภายนอก
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) ที่มุม 0° แรงดันจะมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวด จะขนานกับเส้นแรงแม่เหล็ก
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) ทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดทำมุมกับเส้นแรงแม่เหล็กมากกว่า 0° จะทำให้ค่อยๆเกิดแรงดันไฟฟ้าขึ้น
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) ที่มุม 90° จะเป็นตำแหน่งที่เกิดแรงดันสูงสุดของไฟฟ้ากระแสสลับ
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ) การเกิดคลื่นไซน์ของไฟฟ้ากระแสสลับ 1 ลูกคลื่น คือการหมุนของขดลวดตัวนำรอบตัวเองครบ 1 รอบ หรือ 360°
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ต่อ)