David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Advertisements

ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอินติกรัลเชิงตัวเลข การหาค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข อ.ดร.ชโลธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
การสนทนาให้เกิดปัญญา
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
Flash Mobile: Developing Android and iOS Applications นำเสนอโดย อาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี 7 กันยายน.
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา
การแบ่งประเภทของสื่อ
ลักษณะของชุดฝึกอบรม/การเรียนรู้
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ARTIFICIAL INTELLIGENCE
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการคิด
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
1. นางสาวกัลยารัตน์ แสนประกอบ รหัส
กล้องจุลทรรศน์.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Principle of Marketing
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
วาดเส้น.
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
มรสุม แนวปะทะอากาศ และพายุฝนฟ้าคะนอง
นโยบายสาธารณะและการวางแผน Public Policy & Planning
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิต” Conceptual Framework for “Quality of Life”
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
การบรรยาย การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการอำนวยความยุติธรรม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
ทฤษฎีการเรียนรู้.
บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบการเรียนการสอน
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
บทที่ 7 พัลส์เทคนิค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
By ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระ พันลูกท้าว
การตรวจวินิจฉัยชนิด และการนับเชื้อมาลาเรีย
รหัสวิชา ศิลปกรรมกับการสื่อสาร Fine and Applied Arts and Communication
บทที่ 4 กลยุทธ์ในการเลือกตลาด
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
เทคนิคการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method Research Technique)
ตลาดบริการ และ ลูกค้าเป้าหมาย วิชาการจัดการธุรกิจบริการ
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หลักการตลาด Principles of Marketing
Case of the Month #160 Canadian Association of Radiologists Journal
ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
งานวิจัย.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย ทฤษฏีการเรียนรู้   David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย

ผู้เรียนต้องมีพื้นฐานการเรียนรู้มาก่อนเพื่อที่จะ Asubel อธิบายว่า ผู้เรียนต้องมีพื้นฐานการเรียนรู้มาก่อนเพื่อที่จะ นำมาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่เพื่อให้เกิดเป็น การเรียนรู้ที่มีความหมายแต่ถ้าไม่มีพื้นฐาน มาก่อนก็เป็นการเรียนแบบท่องจำ

การแยกลักษณะสำคัญหรือ เหตุการณ์ต่างๆที่เหมือนกัน ออกมารวมกันเป็นมโนมติ การเรียนรู้ การสร้างมโนมติ การดูดซึมมโนมติ การแยกลักษณะสำคัญหรือ เหตุการณ์ต่างๆที่เหมือนกัน ออกมารวมกันเป็นมโนมติ การเรียนที่เกิดจากการ สัมพันธ์คำจำกัดความ เข้ากับโครงสร้างความรู้

การเรียนที่ดีนั้นผู้เรียนจะต้องรู้จักค้นคว้าเป็นการเรียนแบบรับเอาไม่ใช่ท่องจำ การนำเอาความรู้ใหม่ มาสัมพันธ์กับความรู้เดิม ด้วยความรู้ของตนเอง เข้าใจความเหมือนหรือ ความแตกต่างของมโนมติ วิธีเรียน แบบรับเอา นำเอาความคิดที่มีอยู่เดิม มาจัดระเบียบใหม่ แปลสิ่งที่ตนเองได้เรียนมา ให้เป็นความเข้าใจของตนเอง

สามารถทำให้ผู้เรียนเกิด การในขณะที่กำลังเรียน ผู้สอน จะต้อง สามารถทำให้ผู้เรียนเกิด จินตนาการ พร้อมกับ การในขณะที่กำลังเรียน

ทฤษฏีการเรียนรู้ Jerome Bruner

การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วย bruner เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วย ตนเองโดยเน้นวัฒนธรรมกับพัฒนาการทางปัญญา

การพัฒนาการทางสติปัญญา Enactive stage Iconic stage Symbolic stage เน้นการปฏิบัติกับ ของจริง การเรียนรู้จาก ประสาทสัมผัส การเรียนรู้จากสิ่งที่เป็น นามธรรม

การเรียนรู้ที่ดีที่สุด คือ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเอง ผลที่ได้ ผู้เรียนจะได้รู้เทคนิคและ วิธีการแก้ปัญหา

ข้อดีของการศึกษา ค้นคว้าด้วยตัวเอง ทำให้เกิดความเข้าใจและ จำในสิ่งที่เรียนได้ เพิ่มสติปัญญา เพิ่มแรงจูงใจ ข้อดีของการศึกษา ค้นคว้าด้วยตัวเอง ทำให้ผู้เรียนรู้จักเทคนิคการค้นพบ และนำไปแก้ปัญหาได้

แนวคิดต่อการจัดหลักสูตรและการสอน โครงสร้างความรู้ ความพร้อม การคิดแบบ Intuition แรงจูงใจ ทำให้ผู้เรียนเห็น ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้เดิม กับประสบการณ์ใหม่ ต้องใช้หลักสูตร ที่เหมาะสม กับความพร้อม ของผู้เรียน เป็นข้อสรุปที่ สมเหตุสมผล หรือไม่ก็ได้ การทำให้ผู้เรียน มีความพอใจ หรือมีแรงจูง ใจในการเรียน

ทฤษฏีการเรียนรู้ Piaget

Piaget เชื่อว่า มนุษย์เกิดมาต้องมีการปฏิสัมพันธ์เพื่อที่จะพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาเชาว์ปัญญา

ธรรมชาติของมนุษย์ การจัดและรวบรวม การปรับตัว เป็นการรวบรวมและปรับปรุงกระบวนการภายในต่างๆเพื่อให้เกิดภาวะสมดุลจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม กระบวนการปรับขยายโครงสร้างทางเชาว์ปัญญา กระบวนการดูดซึม

การรับเอาประสบการณ์ใหม่เข้ามาสู่โครงสร้างสติปัญญา การปรับตัว การนำความคิดที่มีอยู่มารวมกับความรู้ใหม่และทำการปรับความรู้ที่ได้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การรับเอาประสบการณ์ใหม่เข้ามาสู่โครงสร้างสติปัญญา

การพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ ประสบการณ์ การเจริญเติบโตของร่างกายและวุฒิภาวะ การพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม กระบวนการพัฒนาสมดุล

ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปนามธรรม

ความรู้ทางตรรกศาสตร์ ความรู้ทางกายภาพ เป็นความรู้พื้นฐานของความรู้อื่นๆที่ได้มาจากการสังเกตและมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ ความรู้ ความรู้ทางตรรกศาสตร์ เป็นการแสดงออกโดยเชื่อมดยงกับสติปัญญา ความรู้ทางสังคม เป็นความรู้ที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างมนุษย์