ความเข้มข้นของสารละลาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สมบัติของสารและการจำแนก
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
มันสำปะหลัง.
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
พื้นที่ผิวของพีระมิด
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
การรักษาดุลภาพของเซลล์
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
กรด-เบส Acid & BASE.
Carbon Footprint.
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
มูลค่าพลังงาน.
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ปฏิกิริยาเคมี Chemical Reaction
ความดัน (Pressure).
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
เศษส่วนและทศนิยม.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเข้มข้นของสารละลาย (1) ร้อยละ หรือส่วนใน 100 ส่วน (part per hundred ใช้อักษรย่อ pph) ก. ร้อยละโดยมวล (มวล/มวล) หมายถึง มวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน เช่น สารละลายโซเดียมคลอไรด์เข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวล หมายความว่าสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 100 กรัม มีโซเดียมคลอไรด์ละลายอยู่ 5 กรัม และมีน้ำ 95 กรัม เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ความเข้มข้นของสารละลาย ข. ร้อยละโดยปริมาตร (ปริมาตร/ปริมาตร) หมายถึง ปริมาตรของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วย ปริมาตรเดียวกัน เช่น สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อยละ 10 โดยปริมาตร หมายความว่า สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มี กรดไฮโดรคลอริกบริสุทธิ์ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร (หน่วยปริมาตรอาจเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร(dm3) หรือลิตร (L) ก็ได้) เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ความเข้มข้นของสารละลาย ค. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (มวล/ปริมาตร) หมายถึง มวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร โดยที่หน่วยของมวลและปริมาตรต้องสอดคล้องกัน เช่น สารละลายกลูโคสเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีกลูโคสละลายอยู่ 10 กรัม เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ความเข้มข้นของสารละลาย

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 1 สารละลายซึ่งประกอบด้วยกลูโคส (C6H12O6) จำนวน 100 g ในน้ำ 200 g มีความเข้มข้นในหน่วยร้อยละ โดยมวลเป็นเท่าใด

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 2 ถ้าอากาศ 1000 cm3  มีแก๊ส N2O ปริมาตร 3.30 x 10-5 cm3 ความเข้มข้นเป็นร้อยละของ แก๊ส N2O ในอากาศมีค่าเท่าใด

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 3 สารละลาย NaOH เข้มข้นร้อยละ 6.00 โดยมวล จำนวน 200 g มี NaOH อยู่ในสารละลายกี่กรัม

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 4 จงหาปริมาตรของสารละลาย Fe(NO3)3 เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล ซึ่งมี  Fe(NO3)3 ละลายอยู่ 30 g สารละลายมีความหนาแน่น 1.16 g/cm3  ที่ 25oC 

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 4 จงหาปริมาตรของสารละลาย Fe(NO3)3 เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล ซึ่งมี  Fe(NO3)3 ละลายอยู่ 30 g สารละลายมีความหนาแน่น 1.16 g/cm3 ที่ 25oC 

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 5 จงหามวลของ NiSO4 ในสารละลาย NiSO4  เข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวล จำนวน 50 cm3 กำหนดให้ สารละลายมีความหนาแน่นเท่ากับ 1.06 g/cm3 ที่ 25oC 

ความเข้มข้นของสารละลาย (2) ส่วนในล้านส่วน (parts per million ใช้อักษรย่อ ppm) และ ส่วนในพันล้านส่วน (parts per billion ใช้อักษรย่อ ppb) เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลายเป็นมวลหรือปริมาตรที่ละลายในสารละลาย 1 ล้านหน่วย และ 1 พันล้านหน่วยตามลำดับ เช่น ในแหล่งน้ำแห่งหนึ่งมีสารตะกั่วปนเปื้อน 0.1 ppm หมายความว่าน้ำในแหล่งน้ำนั้น 1 ล้านกรัมมีตะกั่วละลายอยู่ 0.1 กรัม หรือในเนื้อปลามีสารปรอทปนเปื้อนอยู่ 1 ppb หมายความว่า ในเนื้อปลานั้น 1 พันล้านกรัม มีสารปรอทปนเปื้อนอยู่ 1 กรัม

ความเข้มข้นของสารละลาย ความเข้มข้นในหน่วยนี้เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ความเข้มข้นของสารละลาย ในกรณีที่สารละลายเจือจางมากมวลของตัวละลายมีค่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับมวลของตัวทำละลาย ทำให้มวลของสารละลายมีค่าใกล้เคียงกับมวลของตัวทำละลายจนถือว่าเท่ากัน จึงเขียนความสัมพันธ์ได้ว่า

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 6 ในสารละลาย Hg(NO3)2 ซึ่งมี Hg(NO3)2 อยู่3.24 g และ น้ำ 100 g สารละลายมีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยส่วนในล้านส่วน

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 7 ถ้าในอากาศ 100 cm3  มี N2O 3.3 x 10-5 cm3  ความเข้มข้นของ N2O ในหน่วย ppb มีค่าเป็นเท่าใด

ความเข้มข้นของสารละลาย (3) โมลาริตี หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าความเข้มข้นเป็นโมลาร์ ใช้สัญลักษณ์ M หมายถึงจำนวนโมลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร หรือ 1 ลิตร จึงมีหน่วยเป็นโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร หรือโมลเป็นลิตร เช่น สารละลายกรดซัลฟิวริก เข้มข้น 1.0 M หมายความว่า สารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรหรือ 1 ลิตร มีกรดซัลฟิวริกละลายอยู่ 1 โมล เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 8 สารละลายที่ได้จากการละลาย NaOH จำนวน 15.0 g ในน้ำ จนสารละลายมีปริมาตร 250 cm3 จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 8 สารละลายที่ได้จากการละลาย NaOH จำนวน 15.0 g ในน้ำ จนสารละลายมีปริมาตร 250 cm3 จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 8 สารละลายที่ได้จากการละลาย NaOH จำนวน 15.0 g ในน้ำ จนสารละลายมีปริมาตร 250 cm3 จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์

ความเข้มข้นของสารละลาย (4) โมแลลิตี หรือเรียกย่อๆว่า โมแลล ใช้สัญลักษณ์ m หมายถึงจำนวนโมลของตัวละลายที่ละลายในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม มีหน่วยเป็นโมลต่อ 1 กิโลกรัม เช่น สารละลาย Na2CO3 0.5 โมแลล หมายความว่ามี Na2CO3 0.5 โมล ละลายในน้ำ 1 กิโลกรัม เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 9 เมื่อละลายน้ำตาลทราย 34.2 g ในน้ำ 500 g สารละลายจะมีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อกิโลกรัม

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 10 สารละลาย X เข้มข้น 2.5 m ถ้าในสารละลายนั้นมี X 10 g จงหามวลของน้ำ ในสารละลาย กำหนดให้ X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 250

ความเข้มข้นของสารละลาย (5) เศษส่วนโมล ใช้สัญลักษณ์ X  เศษส่วนโมลของสารใดในสารละลาย หมายถึง อัตราส่วนจำนวนโมลของสารนั้นกับจำนวนโมลรวมของสารทั้งหมดในสารละลาย เช่น สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วย สาร A a โมลสาร B b โมล และสาร C c โมล เศษส่วนโมลของ A B และ C เป็นดังนี้

การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอย่างที่ 11 จงคำนวณหาเศษส่วนโมลขององค์ประกอบแต่ละชนิดในสารละลายที่ประกอบด้วย สาร A 1.5 mol สาร B 2.0 mol และ H2O 5.0 mol