แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
Advertisements

นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เกม เรื่อง ลองคิดดู...ต้นทุนคืออะไร?
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 4 งบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การจัดประเภทสินทรัพย์ทางบัญชีในงบการเงิน
1.
เทคนิคการเพิ่มผลผลิต
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
บทที่ 7 งบประมาณ.
ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ
บทที่ 5 การประมวลผลรายการค้า
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
Principles of Accounting II
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วัสดุคงเหลือ.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ความรู้เบื้องต้นทางการตลาด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
งบประมาณธุรกิจ Budgeting.
หลักการตลาด Principles of Marketing
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting)
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน บทที่ 2 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

ความหมายและวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน ความหมายของการบัญชีต้นทุน การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลทางด้านต้นทุนและจัดทำรายงานเกี่ยวกับต้นทุนสินค้าที่ผลิต ตลอดจนรายงานทางการเงินเพื่อผู้บริหารใช้ในการจัดการควบคุมการดำเนินงานปัจจุบันและวางแผนในอนาคต วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน - คำนวณต้นทุนและราคาขายของสินค้า - คำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ - เพื่อวางแผนและควบคุม

ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีต้นทุน บัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีต้นทุน บัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร การบัญชีการเงิน บันทึกข้อมูลทางการเงินด้านข้อมูลต้นทุนเดิมเพื่อจัดทำงบเสนอบุคคลภายนอก การบัญชีบริหาร บันทึกข้อมูลทางการเงินด้วยข้อมูลต้นทุนเดิมและการประมาณการที่จำเป็นในการบริหาร การบัญชีต้นทุน เป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร

การจำแนกประเภทต้นทุน - ต้นทุนที่ยังไม่หมดประโยชน์ - ต้นทุนที่หมดประโยชน์แล้ว

การจำแนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labors) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Factory Overhead)

การจำแนกต้นทุนตามลักษณะของต้นทุนการผลิต ต้นทุนขั้นต้น = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง ต้นแปรสภาพ = ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต

การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมที่สัมพันธ์ต่อกิจกรรม ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ต้นทุนกึ่งผันแปร (Semi – Variable Costs) ต้นทุนกึ่งคงที่ (Semi – Fixed Costs)

การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมกับหน่วยต้นทุน ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)

การจำแนกต้นทุนตามลักษณะหน้าที่ ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost) ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labors) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Factory Overhead) ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต (Non - Manufacturing Cost) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expense) ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expense) ค่าใช้จ่ายบริหารทั่วไป (Administrative Expense) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Other Expense)

การจำแนกต้นทุนตามงวดบัญชี ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) ต้นทุนงวดเวลา (Period Cost)

การจำแนกต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ ต้นทุนจม (Sunk Cost) ต้นทุนหลีกเลี่ยงได้ (Available Cost) ต้นทุนเสียโอกาส (Opportunity Cost) ต้นทุนส่วนที่แตกต่าง (Differential Cost)

การจำแนกต้นทุนตามสัมพันธ์กับเวลา ต้นทุนในอดีต (Historical Cost) ต้นทุนทดแทน (Replacement Cost) ต้นทุนในอนาคต (Future Cost)

สินค้าคงเหลือของธุรกิจผลิตสินค้า วัตถุดิบคงเหลือ (Raw Materials Inventory) งานระหว่างทำ (Work in Process Inventory) สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (Finished Goods Inventory)

งบการเงินของธุรกิจ ธุรกิจซื้อขายสินค้า สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ xxx ธุรกิจผลิตสินค้า สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ สินค้าสำเร็จรูป xxx งานระหว่างทำ xxx วัตถุดิบ xxx xxx

งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ) ธุรกิจซื้อขายสินค้า สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อสุทธิ สินค้ามีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนขาย xxx ธุรกิจผลิตสินค้า สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป สินค้ามีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนขาย xxx

งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ) การคำนวณวัตถุดิบทางตรงใช้ไปในการผลิต วัตถุดิบทางตรงใช้ไป = วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด + ซื้อวัตถุดิบ (สุทธิ) – วัตถุดิบคง เหลือปลายงวด – วัตถุดิบทางอ้อมใช้ไป *ในกรณีที่มีการแยกวัตถุดิบทางอ้อม ออกจากบัญชีหรือยอดคงเหลือของวัตถุดิบต้นงวด วัตถุดิบปลายงวด และวัตถุดิบที่ซื้อระหว่างงวด ไม่ต้องนำวัตถุดิบทางอ้อมใช้ไปมาแสดงรายการหักออก ตามตัวอย่าง วัตถุดิบทางตรงใช้ไป = 608,000 + 2,100,000 + 400,000 – 388,800 = 1,919,200 บาท

งบการเงินของธุรกิจ (ต่อ) การคำนวณต้นทุนการผลิตระหว่างงวด ต้นทุนการผลิตสินค้าระหว่างวด = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต ตามตัวอย่าง ต้นทุนการผลิตระหว่างงวด = 1,919,200 + 2,240,000 + 2,312,800 = 6,472,000 บาท

งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า (ต่อ) การคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูประหว่างงวดทั้งสิ้น ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป = ต้นทุนการผลิตระหว่างงวด + งานะระหว่างทำ ต้นงวด – งานระหว่างทำปลายงวด หรือ ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต + งานระหว่างทำต้นงวด - งานระหว่างทำปลายงวด ตามตัวอย่าง ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = 6,472,000 + 536,000 – 640,000 = 6,368,000 บาท ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป = 1,919,200 + 2,240,000 + 2,312,800 + 536,000 – 640,000

งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า (ต่อ) การคำนวณต้นทุนขายสำหรับงวด ต้นทุนขาย = สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด + ต้นทุนผลิตสินค้าสำเร็จรูป - สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด ตามตัวอย่าง ต้นทุนขาย = 420,000 + 6,368,000 - 380,000 = 6,408,000 บาท การคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน = ขาย – ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำไรจากการดำเนินงาน = 16,500,000 – 6,408,000 – 1,470,000 = 8,622,000 บาท