หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บำรุง พ่วงเกิด Office: ME201 Homepage: 12/17/2008
Advertisements

ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การวางแผน และควบคุมการตผลิต
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Basic Statistical Tools
Basic Statistical Tools
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
Measures of Central Tendency & Measures of Spread or Variation
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ (Introduction.
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การวัดและประเมินผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดการข้อมูล (Organizing Data)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
1.
การเลี้ยงไก่ไข่.
คะแนนและความหมายของคะแนน
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 3 การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารงานอุตสาหกรรม.
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน 2 หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย การวัดความสัมพันธ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะประจำหน่วย แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน หลักการคำนวณ ค่าทางสถิติพื้นฐาน คำนวณค่าร้อยละได้ คำนวณการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางได้ คำนวณการวัดการกระจายได้ คำนวณการวัดความสัมพันธ์ได้ กิจกรรมเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหลักการคำนวณ ค่าทางสถิติพื้นฐานของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่เห็นได้ชัด 16

หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน 2 หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน 1. ร้อยละ ในการคำนวณหาค่าร้อยละจึงใช้ตัวเลขที่ต้องการเปรียบเทียบหารด้วยจำนวนเต็มของสิ่งนั้น แล้วคูณด้วย 100 17

ข้อควรระวังในการใช้สถิติร้อยละ 2 ข้อควรระวังในการใช้สถิติร้อยละ 1. เลขฐานที่ใช้ในการคำนวณ คือ จำนวนเต็มที่ใช้เทียบส่วนเป็น 100 2. ร้อยละของเลขฐานต่างกันจะนำมาบวก ลบ หรือหาค่าเฉลี่ยไม่ได้ 3. ในการคำนวณหาร้อยละจากตัวเลขที่น้อยเกินไป อาจทำให้การแปลความหมายผิดพลาดได้ 4. โดยทั่วไปทางปฏิบัติไม่นิยมใช้ร้อยละที่มีค่าเกิน 100 ถ้าอยู่ในข่ายดังกล่าวควรระบุ เป็นจำนวนเท่าจะเหมาะสมกว่า 5. ในการเลือกใช้ค่าร้อยละจากการวิเคราะห์โดยคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์และประมวลผล จากคอมพิวเตอร์ 18

2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือค่ามัชฌิมเลขคณิต 1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ สามารถคำนวณได้จากสูตร เมื่อ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต Σx คือ ผลบวกของข้อมูลทุกค่า n คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด X 19

2 1.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ สามารถคำนวณได้จากสูตร เมื่อ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต f คือ ความถี่ของข้อมูล x คือ ค่าของข้อมูล (ในกรณีการแจกแจงความถี่ไม่เป็นอันตรภาคชั้น) หรือจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้น (ในกรณีการแจกแจงความถี่เป็นอันตรภาคชั้น) หาได้จาก X ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้น + ค่าต่ำสุดของอันตรภาคชั้น 2 n คือ ผลรวมความถี่ทั้งหมดหรือจำนวนข้อมูลทั้งหมด 20

2 1) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตข้อมูลที่แจงความถี่ในกรณีที่ข้อมูลไม่เป็นอันตรภาคชั้น 2) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตข้อมูลที่แจกแจงความถี่ในกรณีที่ข้อมูลเป็นอันตรภาคชั้น (Class Interval) หรือเรียกสั้นๆ ว่า “ชั้น” หมายถึง ช่วงของคะแนนในแต่ละพวกที่แบ่ง 21

2 2. มัธยฐาน 2.1 การหาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ เมื่อจัดเรียงข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งมี N ค่า Mdn คือ ตำแหน่งของค่ามัธยฐาน N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด 22

2 2.2 การหาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ สามารถหาค่ามัธยฐานเมื่อจัดเรียงข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งมี N ค่า ได้จากสูตร Med คือ ค่ามัธยฐาน L0 คือ ขอบเขตล่างที่มีชั้นมัธยฐานอยู่ i คือ อันตรภาคชั้น (ช่วงห่างของข้อมูลแต่ละชั้น) 23

3. ฐานนิยม 2 N คือ จำนวนทั้งหมด cf คือ ความถี่สะสมที่อยู่ก่อนถึงชั้นที่มีตำแหน่งมัธยฐาน f คือ ความถี่สะสมของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่ 3. ฐานนิยม ฐานนิยม (Mode) เป็นค่ากลาง ตัวแทนของข้อมูลที่สามารถอธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่ามัธยฐาน 24

2 3. การวัดการกระจาย 1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (Absolute Variation) คือ การวัดการกระจายของข้อมูลเพียงชุดเดียว เพื่อดูว่าข้อมูลชุดนั้นแต่ละค่ามีความแตกต่างกันมากหรือน้อยเพียงใด นิยมใช้กันอยู่ 4 ชนิด คือ 1.1 พิสัย (Range) 1.2 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Quartile Deviation) 1.3 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation หรือ Average Deviation) 1.4 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 25

2 2. การวัดการกระจายสัมพัทธ์ (Relative Variation) คือ การวัดการกระจายของข้อมูลที่มากกว่า 1 ชุด โดยใช้อัตราส่วนของค่าที่ได้จากการวัดการกระจายสัมบูรณ์กับค่ากลางของข้อมูลนั้นๆ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลเหล่านั้น มีอยู่ 4 ชนิด คือ 2.1 สัมประสิทธิ์ของพิสัย (Coefficient of Range) 2.2 สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Coefficient of Quartile Deviation) 2.3 สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Coefficient of Average Deviation) 2.4 สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน (Coefficient of Variation) 26

2 4. การวัดความสัมพันธ์ เมื่อ rxy คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันโปรดักต์โมเมนต์ n คือ จำนวนคู่ของประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างตามลำดับ x คือ ค่าของตัวแปรชุดที่ 1 y คือ ค่าของตัวแปรชุดที่ 2 27