อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
Information Systems Development
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
Crowded Cloud e-services: Trust and Security
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
Thai Quality Software (TQS)
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
นำเสนอโดยนางสาวีระวรรณ แซ่โง้ว และนายพรพิทักษ์ ศรีจันทร์
นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
การบริหารความปลอดภัยสารสนเทศ
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับแรงงานสูงวัย
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
Techniques Administration
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การจัดการระบบฐานข้อมูล
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Internet Technology and Security System
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง หน่วยงานเอกชนที่ทำการตรวจวิเคราะห์วัตถุอันตรายเพื่อการขึ้นทะเบียน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline มาตรฐาน BS 7799 อุปสรรคของงานด้านความมั่งคงของ สารสนเทศ BS 7799-1 หรือ ISO/IEC 17799 BS 7799-2 หรือ ISO 27001 BS 7799-3 อุปสรรคของงานด้านความมั่งคงของ สารสนเทศ

มาตรฐาน BS 7799 เป็นแม่แบบของมาตรฐานการรักษาความ ปลอดภัยที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เป็นมาตรฐานที่มีลิขสิทธิ์ องค์กรใด ต้องการใบรับรองมาตรฐานจะต้องจ่ายค่า ดำเนินการทั้งหมด ในประเทศไทยมีบริษัทตัวแทนที่ทำหน้าที่ รับรองมาตรฐานนี้อยู่ ** ปกติจะใช้การจ้างบริษัท Outsource เป็นที่ปรึกษา และช่วยดำเนินการบางส่วน

มาตรฐาน BS 7799 [ต่อ] มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนามาตรฐานความ ปลอดภัยในองค์กร และระเบียบปฏิบัติที่ มีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความ น่าเชื่อถือให้กับองค์กร

มาตรฐาน BS 7799 [ต่อ] ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ BS7799-1 หรือ ISO/IEC 17799 BS7799-2 หรือ ISO 27001 (Important!) และแนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมอีก 1 ส่วน คือ BS7799-3

มาตรฐาน BS7799-1 หรือ ISO/IEC 17799 Security Policy Organizing Information Security Asset Management Human Resources Security Physical & Environmental Security Communication & Operations Management Access Control

มาตรฐาน BS7799-1 หรือ ISO/IEC 17799 [ต่อ] Information Systems Acquisition, Development and Maintenance Information Security Incident Management Business Continuity Management Compliance

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 เป็นแนวทางในการสร้าง บริหาร ดูแล และปรับปรุง ระบบบริหารการรักษาความ ปลอดภัยข้อมูล (The Information Security Management System : ISMS) เป็นมาตรฐานที่องค์กรส่วนใหญ่ จะต้องทำให้ได้ตามมาตรฐานนี้ เพื่อ ความน่าเชื่อถือและการผ่านเกณฑ์ มาตรฐานที่หน่วยงานรัฐบาลกำหนด ปัจจุบันใช้มาตรฐาน 2013

ความสำคัญของ ISO 27001 ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา รัฐบาลเริ่ม ออกประกาศให้องค์กรที่มีการทำธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ จำเป็นต้องได้รับการ รับรอง มาตรฐาน ISO 27001 หรือ มาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือ เช่น การออกประกาศให้บริษัทประกันมี การรับรองมาตรฐาน รวมถึงสถาบันทาง การเงินภายในประเทศ หรือรัฐวิสาหกิจ

ที่มา http://www.mwa.co.th/ewt_news.php?nid=25593&filename=index

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 [ต่อ] PDCA รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.iso.org/iso/iso27001

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 [ต่อ] PLAN 1. กำหนดขอบเขต ISMS 2. กำหนดนโยบาย ISMS 3. กำหนดวิธีประเมินความเสี่ยง 4. ระบุความเสี่ยง 5. ประเมินความเสี่ยง 6. วิเคราะห์วิธีแก้ปัญหาความเสี่ยง 7. กำหนดมาตรการควบคุม 8. เตรียมแถลงแนวทางการประยุกต์ใช้

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 [ต่อ] DO 9. กำหนดแผนกำจัดความเสี่ยง 10. ปฏิบัติตามแผนลดความเสี่ยง 11. ติดตั้งระบบควบคุม 12. ฝึกอบรมพนักงานเพื่อสร้างความตื่นตัว 13. บริหารการปฏิบัติการ 14. บริหารทรัพยากร 15. กำหนดขั้นตอนการตรวจจับ และตอบโต้

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 [ต่อ] CHECK 16. ปฏิบัติตามขั้นตอนการเฝ้าระวัง 17. ตรวจสอบว่า ISMS มีประสิทธิภาพเพียงพอหรือไม่ 18. ตรวจสอบว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือไม่ 19. ตรวจสอบ ISMS ภายใน 20. ตรวจสอบการบริหารงานปกติของ ISMS 21. บันทึกการปฏิบัติและเหตุการณ์ที่กระทบต่อ ISMS

มาตรฐาน BS7799-2 หรือ ISO 27001 [ต่อ] ACT 22. ปรับปรุงส่วนที่มีปัญหา 23. แก้ปัญหาที่เกิด และป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก 24. ประยุกต์ใช้บทเรียนที่ได้รับ 25. เผยแพร่บทเรียนที่ได้รับ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง 26. ทำให้แน่ใจว่าการปรับปรุงระบบบรรลุวัตถุประสงค์

มาตรฐาน BS7799-3 เป็นแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ของการรักษาความปลอดภัยข้อมูล และ เป็นแนวทางในการทำมาตรฐาน BS7799-2 มาตรฐานนี้ต้องทำควบคู่ไปกับมาตรฐาน BS7799-1 และ BS7799-2 เพื่อให้ แน่ใจว่าได้ทำกระบวนการรักษาความ ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง

มาตรฐาน BS7799-3 [ต่อ] ความเสี่ยงเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อมูลในองค์กร การประเมินความเสี่ยง วิธีปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงและการบริหารการตัดสินใจ การดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง

อุปสรรคของงานด้านความมั่งคงของสารสนเทศ “ความมั่นคงปลอดภัย” คือ “ความไม่สะดวก” ความซับซ้อนของคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้ทั่วไปไม่ทราบ ผู้ใช้ไม่ระแวดระวัง การพัฒนาซอฟต์แวร์โดยคำนึงถึงความปลอดภัยในภายหลัง

อุปสรรคของงานด้านความมั่งคงของสารสนเทศ [ต่อ] แนวโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศคือ “การแบ่งปัน” ไม่ใช่ “การป้องกัน” มีการเข้าถึงข้อมูลได้จากทุกสถานที่ ความมั่นคงปลอดภัยไม่ได้เกิดขึ้นที่ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์เพียงอย่างเดียว มิจฉาชีพมักมีความชำนาญ ฝ่ายบริหารมักไม่ให้ความสำคัญแก่ความมั่นคงปลอดภัย

LET’S CROSS THE PROBLEM