กรดนิวคลีอิก(nucleic acid) ว30241 ชีววิทยา 1 นางฉัตรสุดา สุยะลา ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนพิบูลมังสาหาร โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี กรดนิวคลีอิกคืออะไร กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) เป็นสารอินทรีย์ที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด พบครั้งแรกโดย เอฟ มิชเชอร์ (Friedrich Miescher) ในปี ค.ศ. 1870 (พ.ศ. 2413) และตั้งชื่อว่า นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาเมื่อพบว่า มีสภาพเป็นกรดจึงได้ชื่อว่า กรดนิวคลีอิก ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
กรดนิวคลีอิกสำคัญอย่างไร กรดนิวคลีอิกเป็นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ ทำหน้าที่ เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจาก รุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไปให้แสดงลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต นิวคลีโอไทด์เป็นสารที่ให้พลังงานสูง เช่น ATP (adenosine triphosphate) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิก โมเลกุลของกรดนิวคลีอิก ประกอบด้วย หน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) จำนวนมากมาสร้างพันธะโคเวเลนซ์ต่อกันเป็นสายยาว เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย ส่วนย่อย 3 ส่วน ได้แก่ 1. หมู่ฟอสเฟต (PO43-) 2. น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose) 3. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ เป็นบริเวณที่สามารถสร้างพันธะกับ น้ำตาลเพนโทสของนิวคลีโอไทล์ อีกโมเลกุล ทำให้โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ แต่ละโมเลกุลสามารถเชื่อมต่อกันได้ หมู่ฟอสเฟต ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose) น้ำตาลไรโบส (ribose) มีสูตรโมเลกุล C5H10O5 เป็นส่วนประกอบของกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid, RNA) น้ำตาลดีออกซีไรโบส (deoxyribose) มีสูตรโมเลกุล C5H10O4 เป็นส่วนประกอบของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid, DNA) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นเบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ มีโครงสร้างทางเคมีแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ พิวรีน (purine) เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวน 2 วงที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ไพริมิดีน (pyrimidine) เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวน 1 วง ที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) พิวรีน (purine) ได้แก่ อะดีนีน กวานีน (adenine หรือ A) (guanine หรือ G) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) ไพริมิดีน (pyrimidine) ได้แก่ ไซโทซีน ไทมีน ยูราซิล (cytosine หรือ c) (thymine หรือ G) (uracil หรือ U) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยในกรดนิวคลีอิก นิวคลีโอไทด์ มีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด แตกต่างกันตามส่วนประกอบที่เป็นไนโตรจีนัสเบส ดังนี้ 1. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน 2. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน 3. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน 4. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน 5. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยในกรดนิวคลีอิก จะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกับคาร์บอนตำแหน่งที่ 5 ของน้ำตาลเพนโทส และมีไนโตรจีนัสเบสเชื่อมต่อกับคาร์บอนตำแหน่งที่ 1 ของน้ำตาลเพนโทส ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์ 5 ชนิด นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ชนิดของกรดนิวคลีอิก กรดนิวคลีอิก มี 2 ชนิด DNA RNA (deoxyribonucleic acid) (ribonucleic acid) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี DNA DNA (deoxyribonucleic acid) พบในนิวเคลียสของเซลล์เป็นสารพันธุกรรม มีหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูก โมเลกุล DNA ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย (double standed DNA) เรียงตัวสลับทิศทางกันและมีส่วนของเบสยึดกันด้วยพันธะไฮโดรเจนสาย DNA บิดเป็นเกลียวคล้ายบันได เวียนขวา ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี DNA จะเห็นว่าสายด้านหนึ่งมีจะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่ กับน้ำตาลดีออกซีไรโบส ที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็นปลาย 5 (อ่านว่า 5 ไพร์ม) และอีกปลายด้านหนึ่งจะมี หมู่ไฮดรอกซิล ที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 3 ที่เป็นอิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA ว่าปลาย 3 (อ่านว่า 3 ไพร์ม) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี RNA พบในนิวเคลียสและไซโทพลาซึมของ สิ่งมีชีวิต มีหน้าที่คือ รับข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA เพื่อนำไปในสังเคราะห์โปรตีนรวมทั้งเอนไซม์และฮอร์โมนต่างๆ ภายในเซลล์ โมเลกุล RNA ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์เพียงสายเดียวที่มีการบิดม้วนเป็นเกลียว ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี DNA RNA nucleotide DNA RNA หมู่ฟอสเฟต PO43- น้ำตาลเพนโทส น้ำตาลดีออกซีไรโบส น้ำตาลไรโบส ไนโตรจีนัสเบส เบสกวานีน เบสไซโทซีน เบสอะดีนีน เบสไทมีน เบสยูราซิล ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี DNA RNA polynucleotide DNA RNA G A = T , C ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก 1. ประโยชน์ด้านการแพทย์ 2. ประโยชน์ในด้านอาชญากรรม 3. ประโยชน์ในด้านการเกษตร ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก ประโยชน์ด้านการแพทย์ ใช้ในการรักษาโรคทางพันธุกรรม เช่น โรคโลหิตจาง ชนิดเสี้ยวจันทร์ โรคทาลัสซิเมีย และเฮโมฟีเลีย โดยศึกษายีนที่เป็นสาเหตุของโรคแล้วตัดต่อยีนที่เป็น สาเหตุของโรคออกไป จากนั้นนำยีนปกติใส่เข้าไปให้แทนที่ยีนผิดปกติ เรียกว่า ยีนบำบัด (gene therapy) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก ประโยชน์ในด้านอาชญากรรม ใช้ในการพิสูจน์ความเป็นเอกลักษณ์ของบุคคล คนแต่ละคนจะมีลำดับการเรียงตัวของเบส (ยีน) ที่แตกต่างกันยกเว้นฝาแฝดแท้ จึงสามารถนำมาทดสอบความเป็นเอกลักษณ์ D1 และ S1 เป็นลูก ของแต่ละบุคคลได้ เช่น ใช้ในการสืบหาฆาตกรหรือผู้ร้าย สืบหาคนหาย พิสูจน์การเป็น พ่อ แม่ ลูก เป็นต้น ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก ประโยชน์ในด้านการเกษตร ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ให้มีคุณสมบัติตามต้องการ เช่น การปรับปรุงให้พืชมีความต้านทานต่อเชื้อโรคและแมลง ปรับปรุงให้พืชมีสีสันสวยงาม การทำให้พืชมีกลิ่นหอมตาม ความต้องการ พืชที่ผ่านการปรับปรุงพันธุ์หรือตัดต่อทางพันธุกรรม เรียกว่า พืช GMOS (Genetically Modified Organism) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก ประโยชน์ในด้านการเกษตร ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ขอขอบคุณ สสวท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอวน. มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐาน วิทยาศาสตร์ศึกษา รองศาสตราจารย์สุภาพร สุกสีเหลือง ผศ.ดร.ประสงค์ หลำสะอาด และผศ.ดร.จิตเกษม หลำสะอาด ดร.พจน์ แสงมณี, สำนักพิมพ์แม็ค ตรวจแค่เลือด https://pantip.com/topic/30351735 ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี