อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิติบุคคลอาคารชุดวันพลัส คอนโด นายน์ทีน 1
Advertisements

สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
ผู้จัดทำ ด. ช. พีรวิทย์ ขาสัก เลขที่ ด. ช. ปรเมษ พยัคฆันตร์ เลขที่ 18 ชั้น.. ม.1/10 โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ครับบบ...
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Ecological Succession)
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
นิวซีแลนด์ ไทย อินเดีย อิตาลี นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ หมายถึง “ ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว ” เป็น ประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง.
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ลมและพายุ (พายุ).
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดระยะห่างที่ตั้งโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม และขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง สำหรับผู้ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าพลังงานลม.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Climate II อาจารย์สอง Satit UP.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Ernest Rutherford.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประวัติศาสตร์กฎหมาย Legal History
By Poonyaporn Siripanichponng
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย.
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2557 ( เวลา น. )
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP . ภูมิอากาศ Climate S.E.A. อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ South East Asia Climate เป็นอย่างไร

3 4 2 6 1 5

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในร้อนชื้น(Hot and Humid) - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) - ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในร้อนชื้น (Hot and Humid) เส้นศูนย์สูตร (Equator)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - และตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้ South West Monsoon (SW Monsoon) Heavy rain ลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ North East Monsoon (NE Monsoon) Cool , Dry

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มฤดูหนาว ช่วงเดือน มกราคม นำความหนาวเย็นจากเขตหนาวมายัง S.E.A.

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มฤดูร้อน ช่วงเดือน กรกฎาคม นำความชื้นจากมหาสมุทรมาสู่แผ่นดิน

นำความหนาวเย็นจากเขตหนาว(จีน+ไซบีเรีย) มาสู่ S.E.A. C C C C C C R R C C R R R R R R R R R R R R R R NE Monsoon ลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ ( ต.ค. – มี.ค. ) R R นำความหนาวเย็นจากเขตหนาว(จีน+ไซบีเรีย) มาสู่ S.E.A.

SW Monsoon ลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้ (พ.ค. – ก.ย.) R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R นำความชื้น(ฝน)จากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่ S.E.A.

Typhoon พายุไต้ฝุ่น (พ.ค. – ต.ค.) R+S R R R R+S R+S R R R+S R+S R R+S R R Typhoon พายุไต้ฝุ่น (พ.ค. – ต.ค.) นำความชื้น(ฝน)จากมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ มาสู่ S.E.A.

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons) พายุไต้ฝุ่นมักก่อตัวในเขตร้อน โดยมีชื่อเรียกต่างกัน ไป เช่น ไต้ฝุ่น ไซโคลน เฮอริเคน เป็นต้น ตามบริเวณที่เกิด

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

แนวพายุที่สำคัญในทวีปเอเชีย Pacific ocean ไต้ฝุ่น (Typhoon) ไซโคลน (Cyclone) Indian ocean

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่มีความชุกชุมของพายุ

ระดับความรุนแรงของพายุ พายุดีเปรสชั่นเขตร้อน (Tropical depression) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางไม่ถึง 34 นอต หรือ 63 กม./ชม. มีลักษณะลมกรรโชกแรงเป็นครั้งคราว ซึ่งมีกำลังไม่แรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนได้ ทำให้เกิดฝนตกในประเทศได้มาก แต่ถ้ามีพายุดีเปรสชั่นมากๆ ก็จะทำให้เกิดน้ำท่วมได้ พายุโซนร้อน (Tropical storm) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 34 นอต หรือ 63 กม./ชม.ขึ้นไปแต่ไม่ถึง 63 นอต หรือ 118 กม./ชม. มีกำลังแรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนที่มีโครงสร้างไม่แข็งแรงได้ รวมทั้งทำให้กิ่งไม้หักโค่น และทำให้เกิดน้ำท่วมได้ ฝนที่ตกอย่างหนักทั้งวันทั้งคืนอาจทำให้เกิดน้ำป่าและแผ่นดินถล่มได้ ไต้ฝุ่น (Typhoon) ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 64 นอต หรือ 118 กม./ชม. ขึ้นไป มีความรุนแรงมากที่สุด สามารถทำให้เกิดความเสียหายเช่นเดียวกับพายุโซนร้อนแต่มีความรุนแรงมากกว่า อาจทำให้เสาไฟฟ้าหักโค่น เกิดไฟฟ้าช็อตหรือเพลิงไหม้ได้ ในทะเลมีคลื่นลมแรงจัดมากเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ โดยเฉพาะเรือเล็ก และอาจมีคลื่นใหญ่ซัดชายฝั่ง ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นมากจนท่วมอาคารบ้านเรือนริมทะเลได้

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา เป็นพายุไต้ฝุ่นที่ทำให้มียอดผู้เสียชีวิตมากที่สุดเป็นอันดับสองจากบันทึกของพายุไต้ฝุ่นที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 3,976 คน เข้าโจมตีประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

ลักษณะภูมิอากาศของพม่า เขตอากาศฝนสลับแห้งแล้ง โดย 1) ได้รับความชื้นอย่างมากจากอิทธิพลของลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้(SW Monsoon) ก.ค.-ต.ค. 2) เย็นและแห้งแล้งจากอิทธิพลของลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ(NE Monsoon) พ.ย.-มี.ค. A B และมีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนจากมหาสมุทรอินเดีย ดังตัวอย่างที่มีพายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 D

ลักษณะภูมิอากาศของพม่า พายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 A B D

ลักษณะภูมิอากาศของพม่า พายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 A B D

ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เขต A (ร้อนชื้น) : เขต Tropic Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) : เขตป่าฝนเมืองร้อน(Tropical rain forest) : เขตร้อนชื้นสลับแล้ง(Tropical wet and dry)

ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน)

ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) มีฝนมากทั้งปี ป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) ป่าฝนเขตร้อน(ป่าดงดิบ) ป่าไม่พลัดใบ(เขียวชอุ่มทั้งปี) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ ช่วงฝน สลับ แล้ง ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ ฤดูฝน - ใบเขียว ฤดูแล้ง – ผลัดใบ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) มีฝนมากทั้งปี ป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ ช่วงฝน สลับ แล้ง ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) มีฝนมากทั้งปี เป็นป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ

เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) ช่วงฝน สลับ แล้ง เป็น ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

ภูมิอากาศ เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) ไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.bbc07.net > About M.1 > เอกสารประกอบการสอน

ภูมิอากาศ เขต A (ร้อนชื้น) Af – ส่วนใหญ่หมู่เกาะอินโดนีเซีย Am – เช่นภาคใต้ของไทย Aw – ส่วนใหญ่บนคาบสมุทรอินโดจีน (เช่นภาคเหนือ อีสานของไทย เป็นต้น)