การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง กระจกผิวโค้งมีอยู่ 2 ชนิดคือ กระจกเว้า เป็นกระจกที่ใช้ผิวโค้งด้านนอกสะท้อนแสง มีหน้าที่ รวมแสง จุดโฟกัส
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง 2. กระจกนูน เป็นกระจกที่ใช้ผิวโค้งด้านในสะท้อนแสง มีหน้าที่ กระจายแสง วัตถุ ภาพเสมือน
ส่วนประกอบของกระจกโค้ง C คือ จุดศูนย์กลางความโค้ง P คือ ขั้วกระจกซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางของผิวโค้ง
ส่วนประกอบของกระจกโค้ง AB คือ แกนมุขสำคัญ PC คือ รัศมีความโค้งของกระจก
ส่วนประกอบของกระจกโค้ง F คือ จุดโฟกัส PF คือ ความยาวโฟกัส
เส้นทางเดินของแสง เราสามารถเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตำแหน่งและลักษณะการเกิดภาพจากการสะท้อนของกระจกโค้ง สามารถเขียนได้ดังนี้
กระจกเว้า เมื่อวางวัตถุไว้มากกว่าระยะจุดศูนย์กลางความโค้งแต่ไม่ถึง ระยะอนันต์ หรือ มากกว่า C แต่น้อยกว่า -จะได้ภาพจริงหัวกลับ -ขนาดเล็กกว่าวัตถุ -อยู่ระหว่าง F กับ C หรือระหว่างจุดโฟกัสกับ จุดศูนย์กลางความโค้ง ของกระจก u v
กระจกเว้า เมื่อวางวัตถุไว้ที่ตำแหน่ง C - จะได้ภาพจริงหัวกลับ - ขนาดเท่ากับวัตถุ อยู่ที่ตำแหน่ง C หรือ ตำแหน่งเดียวกับวัตถุ u v
กระจกเว้า เมื่อวางวัตถุไว้ระหว่างตำแหน่ง F กับ C - จะได้ภาพจริงหัวกลับ - ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ระยะภาพมากกว่า ระยะวัตถุ ที่ตำแหน่งไกลกว่า C แต่ไม่ถึงระยะอนันต์
กระจกเว้า - จะไม่เกิดภาพ ไม่มีโอกาสที่รังสีแสง จะตัดกันทำให้เกิดภาพได้ เมื่อวางวัตถุไว้ที่ตำแหน่ง F หรือ โฟกัส - จะไม่เกิดภาพ ไม่มีโอกาสที่รังสีแสง จะตัดกันทำให้เกิดภาพได้
กระจกเว้า จะเกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ เมื่อวางวัตถุไว้หน้าตำแหน่ง F หรือ โฟกัส จะเกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ระยะภาพมากกว่าระยะวัตถุ ตำแหน่งภาพอยู่ระหว่าง C กับ F
กระจกนูน เมื่อวางวัตถุไว้มากกว่า C น้อยกว่า C หรือ น้อยว่า โฟกัส (F) - จะได้ภาพเสมือนหัวตั้ง - ขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ ระยะภาพน้อยกว่า ระยะวัตถุ และตำแหน่งภาพอยู่ ระหว่าง F กับ P u v P
สรุป จากการเขียนทางเดินของแสง เพื่อหาตำแหน่งและ ลักษณะการเกิดภาพจากการสะท้อนบนกระจกโค้ง สรุปได้ดังนี้
กระจกเว้า ภาพที่เกิดจากกระจกเว้า จะทำให้ได้ทั้งภาพจริง และ ภาพเสมือน ซึ่ง ภาพจริง จะมีขนาดเล็กกว่า เท่ากับ และ ใหญ่กว่าวัตถุ ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่วางวัตถุ ภาพเสมือน จะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
กระจกนูน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ เท่านั้น ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะทำให้ได้ ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ เท่านั้น