ความรู้เบื่องต้น เกี่ยวกับ “สารปนเปื้อนในอาหาร”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Nickle.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
แมกนีเซียม (Magnesium).
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ผัก.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ผลร้ายจากยาเสพติด 1. ต้องการเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. เกิดความต้องการเสพยาอย่างรุนแรงตลอดเวลา 3. เมื่อไม่ได้เสพจะทำให้เกิดอาการ.
BLSC, Department of Livestock Development
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เรื่อง อันตรายของเสียง
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื่องต้น เกี่ยวกับ “สารปนเปื้อนในอาหาร”

วันนี้เรามารู้จักสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิดนะคะ วันนี้เรามารู้จักสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิดนะคะ บอแรกซ์ สารกันรา (กรดซาลิซิลิค) สารฟอกขาว(โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์) ฟอร์มาลิน และ สารตกค้างยาฆ่าแมลง

บอแรกซ์ เป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขมเล็กน้อย ใช้ในอุตสาหกรรมการทำแก้วเพื่อให้ทนความร้อน, ใช้ประสานในการเชื่อมทอง เพ่งแซ เม่งแซ ผงกรอบ ผงกันบูด น้ำประสานทอง

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เป็นพิษต่อไต และ สมอง มีอาการ คือ อ่อนเพลีย อาเจียน ปวดหัว เบื่ออาหาร ท้องร่วง เยื่อตาอักเสบ และอาจตายได้

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ผู้ใหญ่ ได้รับสารบอแรกซ์ 15 กรัม และ เด็ก ได้รับ 5 กรัม จะทำให้อาเจียนเป็นเลือด และถึงแก่ชีวิตได้ ภายใน 3-4 ชม.

กฎหมาย สารห้ามใช้ในอาหาร ผู้ใดฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ผู้ใดฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ฉลากต้องมีข้อความ “บอแรกซ์อันตรายห้ามใช้ในอาหาร”

อาหารที่มักตรวจพบว่ามีบอแรกซ์ ลูกชิ้น หมูบด ทอดมัน ลอดช่อง ผัก ผลไม้ดอง ทับทิมกรอบ

สารกันรา (กรดซาลิซิลิค) เป็นกรด ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ กรดซาลิซิลิค แต่ห้ามใช้กับอาหาร มักใส่ในอาหารหมักดอง

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ระคายเคือง กระเพาะอาหาร หูอื้อ ลำไส้ มีไข้ขึ้นสูง ผิวหนังเป็นผื่นแดง

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ถ้าได้รับกรดซาลิซิลิคจนมีความเข้มข้นในเลือดถึง 25 – 35 มก. ต่อ เลือด 100 มล. จะมีอาการ หูอื้อ มีไข้ และอาจถึงตายได้

อาหารที่มักตรวจพบว่ามีสารกันรา ผัก ผลไม้ดอง ต่างๆ ปลาส้ม ปลาทูเค็ม

สารฟอกขาว (โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์) หรือเรียก ผงซักมุ้ง ใช้ฟอกแห-อวน ให้ขาว แอบใส่ในอาหารให้ขาว ห้ามใส่ในอาหาร

อาหารที่มักตรวจพบว่ามีสารฟอกขาว กระท้อนดอง ขิงซอย ถั่วงอก น้ำตาลมะพร้าว ทุเรียนกวน ยอดมะพร้าว

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ปวดศีรษะรุนแรง ผิวหนังอักเสบ แดง ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร เจ็บ แน่นหน้าอก ช็อค หมดสติ

อันตรายของสารฟอกขาว หากบริโภคเกิน 30 กรัม ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว จะทำให้ถ่ายเป็นเลือด ชัก ช็อก หมดสติ หายใจไม่ออก ไตวาย และเสียชีวิตในที่สุด

วิธีการหลีกเลี่ยงสารฟอกขาว หลีกเลี่ยงอาหารที่ขาวมากเกินไป หรือ ขาวผิดธรรมชาติ

ฟอร์มาลิน น้ำยาดองศพ ใช้ฆ่าเชื้อโรค/ดองศพ ระเหยได้ มีกลิ่นฉุน แสบจมูก

อาหารที่มักตรวจพบฟอร์มาลิน อาหารทะเลสด ผัก ผลไม้ สด เห็ดสด สไบนาง (ผ้าขี้ริ้วสีขาว)

สไบนาง (ผ้าขี้ริ้วสีขาว)

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ปวดศีรษะ ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ปวดท้องรุนแรง ชัก ช็อค หมดสติ

ผลกระทบต่อสุขภาพ ถ้ารับประทาน 30 – 60 มิลลิลิตร จะทำให้เกิดอาการปวดท้องรุนแรง อาเจียน ท้องเดิน หมดสติ และเสียชีวิต

ยาฆ่าแมลง/สารพิษตกค้าง สารพิษตกค้าง หมายถึง วัตถุอันตรายทางการเกษตร หรือ สิ่งปลอมปนในวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่มีความเป็นพิษ ซึ่ง ปนเปื้อน หรือตกค้างในอาหาร มีจุดประสงค์ในการใช้เพื่อ ป้องกัน ทำลาย ขับไล่ หรือควบคุมศัตรูพืช หรือสัตว์ ที่ไม่พึงประสงค์

อาหารที่มักตรวจพบยาฆ่าแมลง/สารพิษตกค้าง ผัก และ ผลไม้ ธัญพืช ต่างๆ อาหารตากแห้งบางชนิด เช่น ปลาทูเค็ม เนื้อแห้ง

อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เกิดพิษสะสม เป็นปัญหาเรื้อรัง เป็นอันตรายต่อระบบสมองและประสาท เช่น ความจำเสื่อม สมาธิสั้น เป็นต้น เป็นพิษต่อตับ และ ไต รบกวนระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระทบต่อต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) เป็นสารก่อมะเร็ง และสารก่อกลายพันธุ์ ทำให้ทารกในครรภ์พิการ ต่อมใต้สมอง

ระบบต่อมไร้ท่อในร่างกาย ต่อมใต้สมอง ต่อมเพศ ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์* ต่อมไธมัส ต่อมหมวกไต* ต่อมตับอ่อน*

ในสารพิษตกค้าง พบว่า... เป็นสารพิษในกลุ่มฟอสเฟต และคาร์บาเมท ในสารพิษตกค้าง พบว่า... เป็นสารพิษในกลุ่มฟอสเฟต และคาร์บาเมท สารพิษตกค้างส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อระบบประสาท ถ้าได้รับพิษ 2 ชนิด รวมกันขึ้นไป จะยิ่งทำให้เกิดพิษสะสมสูง/เสริมฤทธิ์กัน(1,000 เท่า)

วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง ใช้โซเดียมไบคาร์บอเนต (ผงฟู) 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำอุ่น 1 กะละมัง (20 ลิตร) แช่นาน 15 นาทีจะช่วยลดปริมาณสารพิษลงได้ 90 – 92% 2. ใช้น้ำส้มสายชู (5%) ประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 1 กะละมัง แช่นาน 30 -45 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ปริมาณสารพิษที่ลดลงด้วยวิธีนี้คือ 60 – 84%

วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง (ต่อ) 3. ล้างผักโดยให้น้ำไหลผ่าน ใช้มือช่วยคลี่ใบผัก นาน 2 นาที วิธีนี้ลดปริมาณสารพิษลงได้  50 - 63%

วิธีการล้างผัก/ผลไม้ ลดสารพิษตกค้าง (ต่อ) 4. ต้มหรือลวกผักด้วยน้ำร้อน ปริมาณสารพิษที่ลดลงคือ 48 – 50%

การตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง อาหาร ด้วย ชุดทดสอบอย่างง่าย (Test Kits)

ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ บอแรกซ์

บอแรกซ์

ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ คือ สารละลาย HCl เจือจาง กระดาษขมิ้น มี สารเคอร์คูมิน (Cercumin)

ขั้นตอนการทดสอบ 1. สับตัวอย่างให้เป็นชิ้นเล็กๆ เท่าหัวไม้ขีดไฟ

2. ตักตัวอย่าง 1 ช้อน ใส่ในถ้วยพลาสติก

3. เติมน้ำยาทดสอบบอแรกซ์จนแฉะ แล้วกวนให้เข้ากัน

4. จุ่มกระดาษขมิ้น ให้เปียกครึ่งแผ่น 4. จุ่มกระดาษขมิ้น ให้เปียกครึ่งแผ่น

5. วางกระดาษขมิ้นบนจานกระเบื้องหรือแผ่นกระจก 5. วางกระดาษขมิ้นบนจานกระเบื้องหรือแผ่นกระจก แล้วนำไปวางกลางแดดนาน 10 นาที 1 3 2

การอ่านผล 1 3 2 พบบอแรกซ์ สีส้มจนถึงสีแดง ไม่พบ

ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ กรดซาลิซิลิค

กรดซาลิซิลิค(สารกันรา)

ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบ 1 คือ สารละลายกรดซาลิซิลิค น้ำยาทดสอบ 1 คือ สารละลายกรดซาลิซิลิค น้ำยาทดสอบ 2 คือ สารละลายเฟอร์ริคคลอไรด์ (FeCl3)

ขั้นตอนการทดสอบ เทน้ำผักดองใส่ในถ้วย เบอร์ 1 และ เบอร์ 2 ถ้วยละ 5 มิลลิลิตร 1 2 5 ml

2 2. หยดน้ำยาซาลิซิลิค 1 ลงในถ้วยเบอร์ 2 จำนวน 1 มิลลิลิตร หรือ 10 หยด 2. หยดน้ำยาซาลิซิลิค 1 ลงในถ้วยเบอร์ 2 จำนวน 1 มิลลิลิตร หรือ 10 หยด 2 น้ำยาทดสอบซาลิซิลิค 1

1 2 3. เติมน้ำยาซาลิซิลิค 2 ลงทั้งสองด้วย ถ้วยละ 1 หลอด (1 มิลลิลิตร) 3. เติมน้ำยาซาลิซิลิค 2 ลงทั้งสองด้วย ถ้วยละ 1 หลอด (1 มิลลิลิตร) 1 2 น้ำยาทดสอบซาลิซิลิค 2

ถ้วยที่ 1 มี สีเหมือน ถ้วยที่ 2 ถ้วยที่ 1 มี สีเหมือน ถ้วยที่ 2 แสดงว่า มีกรดซาลิซิลิค 1 2

ถ้วยที่ 1 มี สีไม่เหมือน ถ้วยที่ 2 ถ้วยที่ 1 มี สีไม่เหมือน ถ้วยที่ 2 แสดงว่า ไม่มี กรดซาลิซิลิค 1 2

ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์

ชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว)

ชื่อสารเคมี น้ำยาทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ คือ.. สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต (CuSO4.5H2O)

1. เทตัวอย่างของเหลว ลงในถ้วยยา 5 มิลลิลิตร ขั้นตอนการทดสอบ 1. เทตัวอย่างของเหลว ลงในถ้วยยา 5 มิลลิลิตร

2. ตัวอย่างเป็นของแข็ง ตักตัวอย่าง ครึ่งช้อนชา ใส่ในถ้วยพลาสติก เติมน้ำสะอาดประมาณ 10 มิลลิลิตร บดตัวอย่างให้แตก

3.หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน 3.หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน

สารละลายเป็น สีเทา – ดำ มีสารฟอกขาว ประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เจือปน สารละลายเป็น สีเทา – ดำ มีสารฟอกขาว ประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เจือปน

สารละลายเป็น สีเขียว มีสารฟอกขาวที่อนุญาตให้ใช้ สารละลายเป็น สีเขียว มีสารฟอกขาวที่อนุญาตให้ใช้

สารละลายเป็นสีฟ้าอ่อน ไม่มีสารฟอกขาว สารละลายเป็นสีฟ้าอ่อน ไม่มีสารฟอกขาว

ระดับสีในการทดสอบหาโซเดียมซัลไฟต์  ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่าน

ขั้นตอนการใช้ชุดทดสอบ ฟอร์มาลิน

ฟอร์มาลิน

ชื่อสารเคมี น้ำยาฟอร์มาลิน 1 คือ สารละลาย Phynylhydrazine hydrochloride (C6H9ClN2) น้ำยาฟอร์มาลิน 2 คือ สารละลาย Potssium hexacyanoferrate (K4Fe(CN6)) น้ำยาฟอร์มาลิน 3 คือ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น (HCl conc.)

ตัวอย่างเป็นของเหลว เทน้ำแช่อาหารลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด เทน้ำแช่อาหารลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด - ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย

ตัวอย่างเป็นของแข็ง ใช้น้ำสะอาดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ล้างตัวอย่าง ใช้น้ำสะอาดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ล้างตัวอย่าง เทน้ำล้างลงในขวดที่ 1 จำนวนครึ่งขวด ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย

วิธีการใช้ชุดทดสอบ เทสารละลายจากขวดที่ 1 ลงในขวดที่ 2 ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย ถ่ายสารละลายจากขวดที่ 2 ลงในขวดที่ 3

ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 1 อ่านผลที่ ขวดที่ 3

การอ่านผล ถ้าสารละลายเป็น สีชมพู ถึง สีแดง ถ้าสารละลายเป็น สีชมพู ถึง สีแดง แสดงว่า มีฟอร์มาลิน ปนอยู่ในตัวอย่าง

แนวทางการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 1. พื้นที่เป้าหมาย : ทุกอำเภอ 2. กลุ่มเป้าหมาย : ร้านอาหาร/แผงลอย ตลาดสด และอื่นๆ 3. เครื่องมือ: แบบฟอร์มการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิด

แบบฟอร์มการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

ส่งผลการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ : เม.ย.- มิ.ย. 59 ส่งผลการดำเนินงาน : ก.ค.59 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข หรือ E-Mail : kok_m@msn.com เบอร์โทรติดต่อ 054-621096

สวัสดี