สวรรคต เสด็จสวรรคต ทรงครองราชสมบัติ พระราชดำเนิน พระอาการ ประชวร พระราชวัง เสด็จ พระชนมพรรษา ประทับ ถวาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

สู่วันข้างหน้า ด้วยวิถีความพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
จัดทำโดย นาย พิริยะ รุ่งรอด ปวช.1 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
(กล้องจับที่วิทยากร)
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
กระบวนการของการอธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองสีซอ
ธนาคารออมสิน.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
เทศกาล / วันสำคัญทางศาสนา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
เนื้อเรื่อง สามัคคีเภทคำฉันท์.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ฝ่ายพิธี กองศาสนูปถัมภ์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
ภาษาพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ผู้สอน ครูอุมาพร กังแฮ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
อำนาจอธิปไตย 1.
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
การใช้ราชาศัพท์ โดย นางสาวสุปัญญา ชมจินดา กรรมการกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย กรรมการจัดทำหลักเกณฑ์ราชาศัพท์ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ความหมายของเรียงความ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการบูรณาการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เพื่อดูแลประชาชน
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ศาสนาเชน Jainism.
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
Part 1 - Jesus Reveals the Father
ตั่งหิน ราว ๒, ๕๐๐ ปีมาแล้ว สลักลวดลายเป็นรูป ขวัญอย่างเดียวกับลายหม้อบ้านเชียง และลาย หน้ากลองทอง ( มโหระทึก ) ปุ่มนูน มีรัศมีเป็นแฉกอยู่กึ่งกลาง.
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ชาวพุทธตัวอย่าง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
การพัฒนาทักษะภาษาไทย ป.๑ – ป.๖
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สวรรคต เสด็จสวรรคต ทรงครองราชสมบัติ พระราชดำเนิน พระอาการ ประชวร พระราชวัง เสด็จ พระชนมพรรษา ประทับ ถวาย

คำราชาศัพท์

ความหมายของคำราชาศัพท์ ศัพท์สำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือพระราชา รวมถึงสุภาพชนด้วย ซึ่งกำหนดไว้ ๕ ระดับ คือ พระเจ้าแผ่นดิน พระบรมวงศานุวงศ์ พระสงฆ์ ข้าราชการและขุนนาง สุภาพชน

ที่มาของคำราชาศัพท์ ๑. ทางสังคมและ ประวัติศาสตร์

ที่มาของคำราชาศัพท์(ต่อ) เขมร ๑. ภาษา บาลีสันสกฤต อังกฤษ เปอร์เซีย

พระโธรน

วิธีใช้คำราชาศัพท์ ๑. การใช้ทรง ๒. การใช้พระบรม, พระราช, พระ ๑. การใช้ทรง ๒. การใช้พระบรม, พระราช, พระ ๓. การใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้าย ๔. การใช้นามราชาศัพท์ ๕.การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้อง

การใช้ทรง ๑.นำหน้าคำนามบางคำทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เช่น ทรงบาตร ทรงกีฬา ทรงช้าง

การใช้ทรง(ต่อ) ๒.นำหน้าคำกริยาสามัญบางคำ ทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ ทรงวิ่ง ทรงศึกษา

การใช้ทรง(ต่อ) พระสุบิน ทรงพระสุบิน พระผนวช ทรงพระผนวช ทรงพระราชดำริ ๓.นำหน้าคำนามราชาศัพท์บางคำ ทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ พระสุบิน ทรงพระสุบิน พระผนวช ทรงพระผนวช ทรงพระราชดำริ พระราชดำริ

การใช้ทรง(ต่อ) ทรงมีเงิน ทรงมีไข้ ทรงมีเหตุผล ทรงเป็นครู ๔. ใช้ทรงมี หรือ ทรงเป็น นำหน้าคำนามธรรมดา เช่น ทรงมีเงิน ทรงมีไข้ ทรงมีเหตุผล ทรงเป็นครู ทรงเป็นทหาร ทรงเป็นนักปราชญ์

การใช้ทรง(ต่อ) ตรัส เสวย ประสูติ บรรทม โปรด เสด็จนิวัติ ๕. คำกริยาที่เป็นคำราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” ตรัส เสวย ประสูติ บรรทม โปรด เสด็จนิวัติ เสด็จประพาส พระราชทาน

ราชาศัพท์ จับเวลา(ชุดที่ ๑) ๑. การใช้ทรง ๒. การใช้พระบรม, พระราช, พระ ๓. การใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้าย ๔. การใช้นามราชาศัพท์

๑. ข้อใดใช้ “ทรง” ไม่ถูกต้อง ทรงสั่งสอน ทรงพระสรวล ค. ทรงทอดพระเนตร ง. ทรงพระประชวร

๒. ข้อใดไม่ใช่กริยาราชาศัพท์ ทรงยินดี ทรงพระราชนิพนธ์ ค. สรงพระพักตร์ ง. พระราชดำริ

๓. เสด็จนิวัติ หมายถึงอะไร ๓. เสด็จนิวัติ หมายถึงอะไร ไปเที่ยว กลับมา ค. อธิบาย ง. สั่งสอน

๔. ข้อใดใช้ “ทรงมี,ทรงเป็น” ไม่ถูกต้อง ทรงมีเหตุผล ทรงเป็นนักปราชญ์ ค. ทรงมีเหตุผล ง. ทรงเป็นพระราชโอรส

๕. คำราชาศัพท์ในข้อใดหมายถึงแต่งหนังสือ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ์ ค. ทรงพระราชทาน ง. ทรงพระราชดำริ

๖. พระบรม,พระบรมราช มีหลักการใช้อย่างไร ใช้กับพระบรมวงศานุวงศ์ ใช้กับพระมหากษัตริย์ ค. ใช้กับพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินี ง. ใช้กับอุปราช

๗. บุคคลในข้อใดใช้“พระราชปฏิสันถาร”ไม่ได้ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี ค. อุปราช ง. พระองค์เจ้า

๘. ข้อใดใช้ “พระ” ไม่ถูกต้อง พระบาท พระเก้าอี้ ค. พระเสวย ง. พระกระยาหาร

๙. พระราชเสาวนีย์ ใช้กับใคร ๙. พระราชเสาวนีย์ ใช้กับใคร พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี ค. พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ง. ถูกทุกข้อ

๑๐. “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า” จะใช้คำลงท้ายว่าอย่างไร ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ด้วยเศียรเกล้า ค. ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ง. ใช้ได้ทุกข้อ

๑๑. คำขึ้นต้น “พระราชอาญาไม่พ้นเกล้า พ้นกระหม่อม” ใช้ในโอกาสใด แสดงความขอบคุณ ทำผิดพลาด กล่าวถึงสิ่งที่ไม่สุภาพ มีพระราชดำรัสขึ้นก่อน

๑๒. หากจะกล่าวถึงสิ่งที่ไม่สุภาพ จะใช้ คำขึ้นต้นว่าอย่างไร เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม พระพุทธเจ้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม ค. พระราชอาญาไม่พ้นเกล้าพ้นกระหม่อม ง. ไม่บังควรจะกราบทูลพระกรุณา

๑๓. คำราชศัพท์ในข้อใดต่างจากพวก พระนขา พระทนต์ พระโสณี พระสัสสุระ

๑๔. คำราชาศัพท์ในข้อใดต่างจากพวก ฉลองพระองค์ พระสนับเพลา พระสุพรรณราช ฉลองพระบาท

๑๕. ศัพท์ในข้อใดหมายถึง “ที่นอน” พระแท่น พระยี่ภู่ พระเขนย พระแท่นบรรทม

๑๖. ศัพท์ในข้อใดหมายถึง “สามี” พระอนุชา พระภัสดา พระปนัดดา พระปิตุลา

๑๗. นามราชาศัพท์หมวดอวัยวะข้อใด ไม่ได้อยู่ในส่วนศีรษะ พระปราง พระโอษฐ์ พระนาสิก พระหัตถ์

๑๘. ถาดพระสุธารส หมายถึงอะไร ถาดน้ำชา ถาดดอกไม้ ถาดน้ำเปล่า ถาดอาหาร

๑๙. คำศัพท์ในข้อใดไม่แสดงถึงผู้ชาย พระอัยกา พระเชษฐา พระภาติยะ พระภคินี

๒๐. พระภูษา หมายถึงอะไร หมวก ผม ผ้านุ่ง กางเกง

  ผู้ฟัง สรรพนามสำหรับผู้พูด บุรุษที่ ๑ บุรุษที่ ๒ บุรุษที่ ๓ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ข้าพระพุทธเจ้า ใต้ฝ่าละอองธุลี พระบาท พระองค์ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใต้ฝ่าละอองพระบาท สมเด็จเจ้าฟ้า ใต้ฝ่าพระบาท พระองค์เจ้า สมเด็จพระสังฆราช เกล้ากระหม่อม (ชาย) เกล้ากระหม่อมฉัน(หญิง) ฝ่าพระบาท หม่อมเจ้า กระหม่อม(ชาย) หม่อมฉัน(หญิง) ท่าน

การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง ใช้ เฝ้าฯ รับเสด็จ หรือ รับเสด็จ ไม่ใช้ ถวายการต้อนรับ (เฝ้าฯ รับเสด็จ มาจาก เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ) ใช้ มีความจงรักภักดี หรือ จงรักภักดี ไม่ใช้ ถวายความจงรักภักดี

การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง(ต่อ) อาคันตุกะ : แขกของคนธรรมดา ราชอาคันตุกะ : คนธรรมดาเป็นแขกของมหากษัตริย์ พระราชอาคันตุกะ : กษัตริย์เป็นแขกของกษัตริย์

การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง(ต่อ) ขอบใจ : พระมหากษัตริย์ใช้กับสุภาพชน พระราชวงศ์ใช้กับสุภาพชน สุภาพชนใช้กับสุภาพชน ขอบพระทัย : พระมหากษัตริย์ใช้กับพระราชวงศ์ พระราชวงศ์ใช้กับพระมหากษัตริย์

การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง(ต่อ) ทูลเกล้าฯ ถวาย : สิ่งของนั้นเป็นของเล็ก น้อมเกล้าฯ ถวาย : สิ่งของนั้นเป็นของใหญ่

คำราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุ การพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมาคารวะ สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อย ๆ ซึ่งจะเป็นการขาดความเคารพสำหรับพระภิกษุ

โว้ย เว้ย เออ ตายห่า ลักษณะของคำสุภาพ ๑. ไม่เป็นคำห้วน กระด้าง หรือคำอุทานที่ไม่เหมาะสม เช่น เว้ย เออ ตายห่า โว้ย

ลักษณะของคำสุภาพ(ต่อ) ๒. ไม่เป็นคำหยาบ เช่น อี ขี้ เยี่ยว ไอ้

ลักษณะของคำสุภาพ(ต่อ) ๓. ไม่เป็นคำคะนองหรือศัพท์สแลงที่นิยมใช้เฉพาะกลุ่ม หรือใช้กันในระยะเวลาสั้นๆ เช่น จ๊าบ แห้ว

ลักษณะของคำสุภาพ(ต่อ) ๔. ไม่เป็นคำที่นำไปเปรียบเทียบกับของหยาบ เช่น สากกะเบือ หรือปลาช่อน ซึ่งมีความหมายเปรียบเทียบกับอวัยวะเพศชาย สากกะเบือ ไม้ตีพริก ปลาช่อน ปลาหาง

ลักษณะของคำสุภาพ(ต่อ) ๕. ไม่ใช้คำผวนที่ผวนหางเสียงกลับมาเป็นคำหยาบ เช่น หมอจ๋า ผวนเป็น หมาจ๋อ ผักบุ้ง เปลี่ยนเป็น ผักทอดยอด แปดตัว เปลี่ยนเป็น สี่คู่ ตากแดด เปลี่ยนเป็น ผึ่งแดด

ราชาศัพท์ จับเวลา (ชุดที่ ๒) การใช้สรรพนามราชาศัพท์ การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้อง ราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุ คำสุภาพ

๑.หากพูดกับพระมหากษัตริย์ จะใช้ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ว่าอย่างไร ข้าพเจ้า ข้าพระพุทธเจ้า หม่อมฉัน เกล้ากระหม่อม

๒. ผู้ฟังชั้นฐานันดรศักดิ์ใด ที่ไม่ได้ใช้ สรรพนามบุรุษที่ ๓ ว่า “องค์” พระมหากษัตริย์ หม่อมเจ้า พระองค์เจ้า สมเด็จเจ้าฟ้า

“ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท” ใช้กับใคร ๓. สรรพนามบุรุษที่ ๒ “ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท” ใช้กับใคร พระมหากษัตริย์ หม่อมเจ้า พระองค์เจ้า สมเด็จเจ้าฟ้า

เฝ้าทูลละอองพระบาทรับเสด็จ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ ๔. ประชาชนเฝ้าฯรับเสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “เฝ้าฯรับเสด็จ” ย่อมาจากคำใด เฝ้าทูลละอองพระบาทรับเสด็จ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ เฝ้าทูลพระบาทรับเสด็จ เฝ้าทูลฝ่าพระบาทรับเสด็จ

๕. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง ประชาชนถวายความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ประชาชนแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ประชาชนจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์

พระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ อาคันตุกะ ถูกทุกข้อ ๖.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไป เป็น......ของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ควรเติมคำใด พระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ อาคันตุกะ ถูกทุกข้อ

๗.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ........ ประชาชนที่มาเฝ้าฯรับเสด็จ ควรเติมคำใด ขอบพระราชหฤทัย ขอบพระทัย ขอบใจ ทรงขอบใจ

๘. เศรษฐีจากเมืองจีน .........ถวายที่ดิน จำนวน ๑๐๐ ไร่ ควรเติมคำใด น้อมเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ

โยม ๙. ศัพท์ข้อใดที่พระสงฆ์ใช้เรียกพระมหากษัตริย์ อาตมาภาพ ประสก มหาบพิตร

๑๐. ทำวัตร หมายถึงอะไร นอน สวดมนต์ จำพรรษา นั่งสมาธิ

๑๑. ศัพท์ในข้อใดหมายถึง “จดหมาย” (ศัพท์สำหรับพระสงฆ์) เลขา ลิขิต ปัจจัย ไทยธรรม

๑๒. ผักรู้นอน, ผักสามหาว หมายถึงอะไร ๑๒. ผักรู้นอน, ผักสามหาว หมายถึงอะไร ผักกระเฉด, ผักบุ้ง ผักบุ้ง, ดอกขี้เหล็ก ผักกระเฉด, ผักตบ ดอกสลิด, ผักตบ

๑๓. นารีจำศีล, วิฬาร์ หมายถึงอะไร ๑๓. นารีจำศีล, วิฬาร์ หมายถึงอะไร ผู้หญิง, โค กล้วยบวชชี, แมว กล้วยไข่, ขี้ผึ้ง ฟักทอง, ถั่วงอก

๑๔. ศัพท์ข้อใดหมายถึง ปลาไหล ๑๔. ศัพท์ข้อใดหมายถึง ปลาไหล ปลายาว ปลาหาง ปลาลิ้นสุนัข รากดิน

๑๕. ศัพท์ในข้อใดหมายถึง แตงโม ฟักเหลือง ผลอุลิด ชัลลุกา เถามุ่ย

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ สวรรคาลัย อ่านว่า สะ-หวัน-คา-ไล หมายถึง ก.ตาย (ใช้แก่เจ้านายชั้นสูง) ปัญญาสมวาร อ่านว่า ปัน-ยา-สะ-มะ-วาน คือ วันที่ครบ ๕๐ วันแห่งการสวรรคต สตมวาร อ่านว่า สะ-ตะ-มะ-วาน คือ วันที่ครบ ๑๐๐ วันแห่งการสวรรคต

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระเมรุมาศ อ่านว่า พระ-เม-รุ-มาด ใช้กับพระมหากษัตริย์เท่านั้น

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่อ) พระจิตกาธาน หมายถึง แท่นที่เผาศพ

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่อ) ศาลาลูกขุน เป็นสิ่งปลูกสร้างโถงทรงไทยชั้นเดียว

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่อ) พระมหาพิชัยราชรถ คือ ราชรถไม้

การใช้คำราชาศัพท์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่อ) นพปฎลมหาเศวตฉัตร อ่านว่า นบ-พะ-ปะ-ดน-มะ-หา-สะ-เหวด-ตะ-ฉัด

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร การใช้คำราชาศัพท์กับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระปรมาภิไธย “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร” (อ่านว่า “สม - เด็ด - พระ - เจ้า - อยู่ - หัว - มะ - หา - วะ - ชิ - รา - ลง - กอน - บอ - ดิน - ทระ - เทบ - พะ - ยะ - วะ - ราง - กูน)

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร การใช้คำราชาศัพท์กับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร การขึ้นกราบบังคมทูล ใช้คำว่า “ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบ ฝ่าละอองธุลีพระบาท” - สรรพนาม บุรุษที่ ๑ ใช้คำว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” - สรรพนาม บุรุษที่ ๒ ใช้คำว่า “ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท”

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร การใช้คำราชาศัพท์กับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร - คำลงท้าย ใช้คำว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม” - คำว่า “ขอเดชะ” จะใช้เมื่อผ่านการบรมราชาภิเษกแล้ว - คำว่า “พระราชบัณฑูร” (คำสั่ง) เปลี่ยนเป็น “พระราชโองการ” เมื่อผ่านการบรมราชาภิเษก ให้ใช้ “พระบรมราชโองการ”

ราชาศัพท์ จับเวลา (ชุดที่ ๓) รวม ที่มาของคำราชาศัพท์ การใช้คำราชาศัพท์ในงาน พระราชพิธีพระบรมศพ ๓. การใช้คำราชาศัพท์กับสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

๑.คำราชาศัพท์แบ่งสถานภาพของบุคคล ต่างๆ เป็นกี่ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕ ระดับ

๒. คำราชาศัพท์ ใช้คำยืมที่มาจากภาษา ใดมากที่สุด ๒. คำราชาศัพท์ ใช้คำยืมที่มาจากภาษา ใดมากที่สุด เขมร, ชวา เขมร, บาลีสันสกฤต เขมร, เปอร์เซีย บาลีสันสกฤต, จีน

๓. คำในข้อใดไม่ใช่คำราชาศัพท์ ช้างหลวง เรือหลวง ทะเลหลวง หลานหลวง

๔. “ราชาศัพท์” คือคำที่สร้างขึ้นแบบใด ๔. “ราชาศัพท์” คือคำที่สร้างขึ้นแบบใด ซ้อน (สันสกฤต+สันสกฤต) สมาสสนธิ สมาส คำประสม

๕. ภาพนี้คืออะไร พระเมรุมาศ พระจิตกาธาน ศาลาลูกขุน นพปฎลมหาเศวตฉัตร

๖. “สัตตมวาร” หมายถึงครบรอบกี่วัน แห่งการสวรรคต ๕ วัน ๗ วัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน

๗. “ปัณรสมวาร” หมายถึง ครบรอบกี่วัน แห่งการสวรรคต ๕ วัน ๑๕ วัน ๑๕๐ วัน ๑๐๐ วัน

๘. ปัจจุบัน พระมหาพิชัยราชรถ เก็บรักษา ๘. ปัจจุบัน พระมหาพิชัยราชรถ เก็บรักษา อยู่ที่ใด พิพิธภัณฑ์แพทย์ศิริราช พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร พระที่นั่งวิมานเมฆ นิทรรศรัตนโกสินทร์

๙. พระเมรุมาศ สร้างขึ้นตามความเชื่อ เรื่องใด ๙. พระเมรุมาศ สร้างขึ้นตามความเชื่อ เรื่องใด โลกและจักรวาล ผี เทพนิยายกรีก ถูกทุกข้อ

ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ใต้ฝ่าพระบาท ฝ่าพระบาท ๑๐. เมื่อกล่าวกับ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร ต้องใช้สรรพนามบุรุษที่ ๒ ว่าอะไร ใต้ฝ่าละอองพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ใต้ฝ่าพระบาท ฝ่าพระบาท

๑๑. เมื่อกษัติย์พระองค์ใหม่ผ่านพระราชพิธีบรมราชา ภิเษกแล้ว จะใช้คำนำหน้าพระปรมาภิไธยว่าอะไร พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทร

พระบรมราชโองการ พระราชโองการ พระราชบัณฑูร พระราชกระแสรับสั่ง ๑๒. ปัจจุบัน กษัตริย์รัชกาลที่ ๑๐ ใช้ราชาศัพท์ “คำสั่ง” ว่าอะไร พระบรมราชโองการ พระราชโองการ พระราชบัณฑูร พระราชกระแสรับสั่ง

เขมร สันสกฤต เปอร์เซีย อังกฤษ ๑๓. พระโธรน เป็นราชาศัพท์ที่มาจากภาษาอะไร เขมร สันสกฤต เปอร์เซีย อังกฤษ

๑๔. บรรทม เป็นราชาศัพท์ที่มาจากภาษาใด ๑๔. บรรทม เป็นราชาศัพท์ที่มาจากภาษาใด เขมร สันสกฤต เปอร์เซีย อังกฤษ

๑๕. เสวย เป็นราชาศัพท์ที่มาจากภาษาใด ๑๕. เสวย เป็นราชาศัพท์ที่มาจากภาษาใด เขมร สันสกฤต เปอร์เซีย อังกฤษ

สวัสดีค่ะ