World Time อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการมูลฝอย 7 จังหวัดในเขต 12
Advertisements

การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ของการ ให้บริการเรือลากจูง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของ การให้บริการเรือลากจูง.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
จัดทำโดย นาย พิริยะ รุ่งรอด ปวช.1 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงของการให้บริการเรือลากจูง.
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
อยากให้เธออยู่ตรงนี้
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
GMT & IDL อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
World Time อาจารย์สอง Satit UP
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ยิ้มก่อนเรียน.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
นาย พิศณุ นิลกลัด.
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

World Time อาจารย์สอง Satit UP

TIME & Longitude

เวลามาตรฐาน (Standard Time)

เวลามาตรฐาน (Standard Time) ความเป็นมา ความริเริ่มเกี่ยวกับเวลามาตรฐานประจำถิ่นเริ่มมาตั้งแต่ ศตวรรษที่ 19 เพื่อขจัดความสับสนเนื่องจากการจับเวลาตามแสงอาทิตย์ การกำหนดเวลามาตรฐานท้องถิ่นจึงจำเป็นมากขึ้นเมื่อมีการเดินรถไฟขึ้น ในปี พ.ศ. 2383 ได้มีการใช้เวลามาตรฐานครั้งแรกในประเทศอังกฤษ โดยทั้งประเทศใช้เวลามาตรฐานที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ต่อมา เซอร์ แซนฟอร์ด เฟรมมิง นักวางแผน และวิศวกรรถไฟชาวแคนาดา ได้เป็นผู้ริเริ่มความคิดที่มีการใช้เวลามาตรฐานไปทั่วโลก

เวลามาตรฐาน ( Standard Time ) ถ้าทุกแห่งใช้เวลาท้องถิ่น จะเกิดความสับสนสำหรับผู้ที่ท่องเที่ยวจากแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งและสำหรับกิจการอื่นๆ อีกหลายอย่าง รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับการส่งรับวิทยุโทรทัศน์และการสื่อสาร          ประเทศอังกฤษทั้งประเทศใช้เวลาของเมริเดียนกรีนิช ประเทศฝรั่งเศสแต่ก่อนเคยใช้เวลาของเมริ-เดียนปารีส แต่ได้เปลี่ยนมาใช้เวลาของกรีนิชตั้งแต่พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911)

เวลามาตรฐาน ( Standard Time ) การใช้เวลามาตรฐาน (Standard Time) ของแต่ละประเทศ โดยเทียบกับเวลามาตรฐานโลก (Universal Time Co-ordinated หรือ UTC) นั้นใช้กฎเกณฑ์พื้นฐานที่ได้จากการประชุมนานาชาติ International Prime Meridian Conference ณ กรุงวอชิงตัน ดี ซี เมื่อ 1 พฤศจิกายน 1884 โดยมี 25 ประเทศเข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้มีข้อตกลงให้ แบ่งโลกตามแนวเส้นแวงออกเป็น 24 โซนเท่าๆ กัน แต่ละโซนมีค่า 15 องศา ทั้งในทางทิศตะวันตกและตะวันออก และมีค่าเท่ากับ 1 ชั่วโมงห่างจากโซนที่ติดกัน และเส้น 0 องศาจะผ่านที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ โดยมีเส้นแบ่งวัน (International Date Line) อยู่ที่ 180 องศา ทั้งนี้ประเทศต่างๆ ได้รับเอาแนวคิดนี้ โดยใช้เส้นแวงที่แบ่งโลกออกเป็นสองส่วนเป็นตัวกำหนดเวลาว่า เวลามาตรฐานประจำถิ่น เร็วกว่าหรือช้ากว่าเวลามาตรฐานโลก ที่เมืองกรีนีช ประเทศอังกฤษ เท่าไร แต่อย่างไรก็ดีก็มีการกำหนดเวลาท้องถิ่น และเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของประเทศต่างๆ ทั้งนี้สิทธิการกำหนดเวลามาตรฐานประจำถิ่นยังเป็นของประเทศนั้นๆ

เวลามาตรฐาน (Standard Time) สำหรับประเทศไทยนั้นกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ เป็นผู้ควบคุมเวลามาตรฐานของประเทศไทย และการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเวลาให้เที่ยงตรงในแต่ละปีก็จะมีการประสานงาน กับสถาบันนานาชาติเกี่ยวกับน้ำหนักและการวัด (International Bureau of Weighs and Measurement หรือ BIPM) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบัน ประเทศไทยได้กำหนดเวลามาตรฐานของประเทศเป็น UTC + 7 (เร็วกว่าเวลามาตรฐานโลก 7 ชั่วโมง)

เวลามาตรฐานของประเทศ ปัจจุบัน ประเทศไทยได้กำหนดเวลามาตรฐานของประเทศเป็น UTC + 7 หรือ GMT+7 (เร็วกว่าเวลามาตรฐานโลก 7 ชั่วโมง) โดยใช้เส้นลองจิจูดที่ 105˚E ซึ่งลากผ่านจังหวัดอุบลราชธานีของไทยเป็นเส้นอ้างอิงเวลาเทียบกับเวลาที่กรีนีช ซึ่งจะทำให้มีเวลาเร็วกว่าเวลามาตรฐานที่กรีนิช 7 ชั่วโมงพอดี Longitude 105˚E

เวลามาตรฐานของประเทศ ปี พ. ศ. 2400 (ค. ศ เวลามาตรฐานของประเทศ ปี พ.ศ. 2400 (ค.ศ. 1857) - ประเทศไทยมีเวลามาตรฐานเป็นของตัวเอง คือ เวลามาตรฐานกรุงเทพปานกลาง หรือที่เรียกว่า Bangkok mean time ซึ่งเป็นเวลาที่เร็วกว่าที่กรีนิช 6 ชั่วโมง 42 นาที ปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) - ได้มีการประชุมสภาสากลอุทกนิยม ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพื่อแบ่งภาคเวลา โดยกำหนดให้ตำบลกรีนิช เป็นจุดแรกของการกำเนิดเวลา ประเทศไทยจึงได้มีการกำหนดเวลามาตรฐานใหม่ จากเส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก ซึ่งพาดผ่านพระบรมมหาราชวัง มาเป็นเส้นแวงที่ 105 องศาตะวันออก 1 เม.ย. 2463(ค.ศ. 1920) - พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงออกพระราชกฤษฎีกาให้ใช้อัตราเวลาทั่วราชอาณาจักรไทย เป็น 7 ชั่วโมงก่อนเวลาที่ตำบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ Longitude 100˚E Longitude 105˚E

การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time) เนื่องจากการกำหนดเวลามาตรฐานของแต่ละประเทศนั้น เป็นสิทธิของแต่ประเทศ การเปลี่ยนแปลงส่วนมากก็จะมีสาเหตุหลายอย่างแต่โดยทั่วไปแล้วมักเป็นเหตุผลทางด้านพาณิชย์เป็นส่วนใหญ่

การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time) Russia Venezuela เมื่อ 9 ธ.ค. 2007 เวเนซูเอลาได้เริ่มปรับเปลี่ยนเวลาช้าลงจากเดิมครึ่งชั่วโมง โดยประธานาธิบดีฮูโก ชาเวซ อ้างเพื่อช่วยให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เด็กนักเรียนกระฉับกระเฉงความจำดีเพราะได้ตื่นแต่เช้า แต่ประชาชนไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์ใดๆ Jordan ได้เปลี่ยนเวลามาตรฐานของตนจาก UTC+2 ชั่วโมงมาเป็น UTC+3 ชั่วโมง เร็วกว่าเดิม 1 ชั่วโมง ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 1999 Nepal ที่เปลี่ยนจาก UTC+5.40 มาเป็น UTC+ 5.45 เร็วขึ้นจากเดิม 5 นาที

เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตำบล ( Local Time / Local Mean Time )

เวลาท้องถิ่น ( Local Time )          เวลาท้องถิ่นที่บริเวณใด เป็นเวลาซึ่งดวงอาทิตย์ชี้บอกที่เมอริเดียนนั้น  เวลาชนิดนี้จึงแตกต่างกันตามลองจิจูดที่ต่างกัน บนผิวโลก ต่างกัน 1 ชั่วโมงเท่ากับ    ลองจิจูดต่างกัน 15 องศา หรือ 4 นาทีสำหรับทุกๆ 1 องศาลองจิจูด ความต่างระหว่างเวลาท้องถิ่นกับเวลาที่ลองจิจูด 0 องศา ซึ่งผ่านกรีนิชขณะเดียวกันเท่ากับความต่างของลองจิจูดที่ท้องถิ่นกับกรีนิช

เวลาท้องถิ่น ( Local Time )        เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตำบล (Local Mean Time) คือ เวลาจริง ณ ตำบล หรือ ท้องถิ่นที่ตั้งของเมือง ที่อาจมีผลต่างจากเวลานาฬิกามาตรฐานที่กำหนดไว้กับนานาประเทศ หรือ เวลานาฬิกาของประเทศนั้น ๆ จะยกตัวอย่างให้เห็นง่าย ๆ ประเทศไทยของเรานั้น ตั้งเวลามาตรฐานนาฬิกาสากล หรือ เวลาที่ใช้ตรงกันทั่วประเทศไว้ที่เส้น 105 องศา ตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแวง ที่ลากผ่านตำบลหนึ่ง ในจังหวัดอุบลราชธานี อันเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคอีสานของประเทศไทย        

เวลาท้องถิ่น ( Local Time ) เมื่อเวลานาฬิกาที่เราใช้ บอกเวลา 12.00 น. หรือ เที่ยงวันตรง นั่นหมายความว่า เวลาดังกล่าวนี้ เป็นเวลาเที่ยงวันตรงจริง ๆ ของ ตำบลดังกล่าวในจังหวัดอุบลราชธานี เท่านั้น แต่เมื่อท่านอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี หรือ เส้นมาตรฐานเวลา หลายร้อยกิโลเมตร มาทางทิศตะวันตก เราจะเหมาเอาว่า เวลาเที่ยงตรงของนาฬิกาที่จังหวัดอุบลราชธานีนั้น เป็นเวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพฯ ซึ่งหากคิดเช่นนั้น ถ้าจะให้เป็น เวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพ ฯ ก็ต้องให้เป็นเวลานาฬิกา 12.18 น. (เพราะตั้งอยู่ที่เส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก) เพราะซีกโลกตะวันออก เมืองหรือประเทศที่อยู่ทางด้านขวามือในแผนที่ ย่อมเห็นพระอาทิตย์ขึ้นก่อน              

เวลาท้องถิ่น ( Local Time )              ที่เราทราบว่า เวลา 12.18 น. เป็นเวลาเที่ยงตรงจริง หรือ เวลาท้องถิ่น ของกรุงทพฯ ที่ต่างจากเวลาท้องถิ่นของอุบลราชธานี ถึง 18 นาที นั้น เพราะเราทราบว่า กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ เส้นลองติจูด 100.5 องศา ตะวันออก ต่างจากเส้นเวลามาตรฐานนาฬิกาของประเทศไทย ที่ 105 องศาตะวันออก ถึง 4 องศา ครึ่ง เมื่อเราทราบดังนี้แล้ว เราก็เอา 4 องศาครึ่งนี้ แปลงให้เป็น นาที 1 องศา นั้น เท่ากับ 4 นาที ดังนั้น 4 องศาครึ่ง จึงเท่ากับ 18 นาที

เวลาท้องถิ่น ( Local Time ) หากคำนวณ ตามละติจูดจริง ห่างกัน 4.5 องศา (18 นาที) ห่างกัน 8 องศา (32 นาที) 11.28 น แม่ฮ่องสอน เวลาท้องถิ่น ( Local Time ) หากคำนวณ ตามละติจูดจริง Longitude 100˚.5 E 12.00 น อุบลราชธานี กรุงเทพฯ 11.42 น Longitude 97˚E Longitude 105˚E