ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 9 กรกฎาคม 2555.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน และการเบิกวัคซีนโรต้า จ.เพชรบูรณ์ ภญ.ปิยะนาถ เชื้อนาค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๙
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
รายงานผลการตรวจนิเทศราชการ คณะที่ 3 รอบที่ 2/2561
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ “CD HEART ควบคุมโรคฉับไว ภายใต้หัวใจเดียวกัน” H- Healthy E - Excellent A- Accurate R- Rapid T- Teamwork MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ

อัตราส่วนผู้ป่วยเพศชายต่อเพศหญิง = 1.02 : 1 1.โรคไข้เลือดออก สระแก้ว (1 ม.ค.59 จนถึง 22 มิ.ย.59) ผู้ป่วย 136 ราย อัตราป่วย 28.80/ แสนปชก. ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต จำแนกรายอำเภอ 3 อันดับแรก 1. อ.เขาฉกรรจ์ (88.05) 2. อ.อรัญประเทศ (24.74) 3. อ.เมืองสระแก้ว (18.47) จำแนกตามกลุ่มอายุ 3 อันดับแรก 1. กลุ่มอายุ 10-14 ปี (102.16) 2. กลุ่มอายุ 5-9 ปี (62.53) ๓. กลุ่มอายุ 15-24 ปี (31.20) อัตราส่วนผู้ป่วยเพศชายต่อเพศหญิง = 1.02 : 1 ข้อมูลจาก รง.506 ณ วันที่ 22 มิ.ย.59

ตารางแสดง ตำบลเกิดโรคไข้เลือดออกสูงสุด 5 อันดับแรก (22 พฤษภาคม - 18 มิถุนายน 2559) อันดับ ตำบล อำเภอ จำนวน(ราย) หมู่บ้านที่เสี่ยง 1 หนองหว้า เขาฉกรรจ์ 4 ม.24 ลานไผ่ 2 ศาลาลำดวน เมือง ม.1 ศาลาลำดวน , ม.6 ท่าช้าง 3 สระขวัญ ม.8 คลองปูน ทุ่งมหาเจริญ วังน้ำเย็น ม.1 ทุ่งมหาเจริญ หมายเหตุ : พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยย้อนหลัง 4 สัปดาห์ ข้อมูลจาก รง.506 ณ วันที่ 22 มิ.ย.59

2. งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ร้อยละของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG, HBV1, DTPHBV3, OPV3, M/MMR แยกรายอำเภอ 100 98.64 99.84 98.81 99.21 95.20 89.28 96.53 99.71 93.51 95.58 81.42 95.67 95.05 80.00 99.09 91.36 90.91 86.36 98.05 93.83 92.86 81.66 96.76 89.73 91.82 79.90 97.29 88.93 89.38 80.23 89.69 89.45 77.22 90.52 90.31 75.05 88.89 87.50 70.14 ***ความครอบคลุมของวัคซีนทุกตัวต้องผ่านร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV3 (10 อันดับแรกของประเทศ) ร้อยละ จังหวัด ***จ.สระแก้ว อยู่ลำดับที่ 42 ของประเทศ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV3 เขต 6 ร้อยละ จังหวัด ***จ.สระแก้วอยู่ลำดับที่ 4 ของเขต 6 จากทั้งหมด 8 จังหวัด ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV3 จังหวัดสระแก้ว แยกรายอำเภอ ร้อยละ อำเภอ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน IPV (10 อันดับแรกของประเทศ) ร้อยละ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59 จังหวัด ***จ.สระแก้วอยู่ลำดับที่ 10 ของประเทศ หมายเหตุ : ผลงานคือเด็กอายุตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไปทุกคนที่ได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ในแต่ละเดือนทั้งเด็กในและนอกพื้นที่รับผิดชอบ (รวมเด็กต่างชาติ) ที่มารับบริการ ตั้งแต่ 1 ธค.2558 ถึง 28 มิ.ย.2559

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน IPV เขต 6 (ธ.ค.58- มิ.ย 59) ร้อยละ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59 จังหวัด ***จ.สระแก้วอยู่ลำดับที่ 3 ของเขต 6 จากทั้งหมด 8 จังหวัด หมายเหตุ : ผลงานคือเด็กอายุตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไปทุกคนที่ได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ในแต่ละเดือนทั้งเด็กในและนอกพื้นที่รับผิดชอบ (รวมเด็กต่างชาติ) ที่มารับบริการ ตั้งแต่ 1 ธค.2558 ถึง 28 มิ.ย.2559

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน IPV จังหวัดสระแก้ว (ธ.ค.58- มิ.ย 59) ร้อยละ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59 อำเภอ หมายเหตุ : ผลงานคือเด็กอายุตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไปทุกคนที่ได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ในแต่ละเดือนทั้งเด็กในและนอกพื้นที่รับผิดชอบ (รวมเด็กต่างชาติ) ที่มารับบริการ ตั้งแต่ 1 ธค.2558 ถึง 28 มิ.ย.2559

ร้อยละของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG, HBV1, DTPHBV3, OPV3, M/MMR (10 อันดับแรกของจังหวัดสระแก้ว) ทั้งหมด 117 หน่วยบริการ ***ความครอบคลุมของวัคซีนทุกตัวต้องผ่านร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ร้อยละของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG, HBV1, DTPHBV3, OPV3, M/MMR (10 อันดับสุดท้ายของจังหวัดสระแก้ว) ทั้งหมด 117 หน่วยบริการ ***ความครอบคลุมของวัคซีนทุกตัวต้องผ่านร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 28 มิ.ย.59

ผลการดำเนินงานฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี พ.ศ. 2559 อำเภอ กลุ่มเป้าหมาย ช่วงรณรงค์ ร้อยละ นอกช่วงรณรงค์ เมืองสระแก้ว 4829 1384 28.66 คลองหาด 1753 51 2.91 1 ตาพระยา 2413 2 0.08 วังน้ำเย็นและวังสมบูรณ์ 4344 985 22.67 วัฒนานคร 3520 629 17.87 อรัญประเทศ 3802 0.00 235 เขาฉกรรจ์ 2520 405 16.07 โคกสูง 1192 รวม 24373 3456 14.18 238 หมายเหตุ : 1. กลุ่มเป้าหมาย คือจำนวนวัคซีน (โด๊ส) ที่ได้รับจัดสรรให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขและประชากรกลุ่มเสี่ยง 2. ในช่วงรณรงค์หมายถึง รับบริการฉีดวัคซีนตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 กรกฎาคม 2559 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 27 มิ.ย.59

ข้อเสนอแนะการดำเนินงานฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ปี พ.ศ. 2559 ลำดับที่ อำเภอ ข้อเสนอแนะจากผลงาน 1 เมืองสระแก้ว จัดสรรวัคซีนให้แต่ละหน่วยบริการฉีดเอง / ให้บริการแล้วกำลังเร่งดำเนินการคีย์ข้อมูล 2 คลองหาด โรงพยาบาลดำเนินการฉีดให้ / พื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลดำเนินการแล้วส่วนตำบลอื่นจะดำเนินการในเดือนกรกฎาคม 2559 3 ตาพระยา จัดสรรวัคซีนให้แต่ละหน่วยบริการฉีดเอง / รพ.สต.ยังไม่ได้รับจัดสรรวัคซีนจากโรงพยาบาล/ข้อมูลบางส่วนของโรงพยาบาลมีการคีย์แล้วแต่ยังไม่ได้ส่งออกข้อมูล 4 วังน้ำเย็นและวังสมบูรณ์ จัดสรรวัคซีนให้แต่ละหน่วยบริการฉีดเอง / ข้อมูลบางส่วนของโรงพยาบาลยังไม่ได้คีย์ 5 วัฒนานคร โรงพยาบาลดำเนินการฉีดให้ / จะฉีดแล้วเสร็จ 28 มิ.ย.59 /ข้อมูลบางส่วนคีย์แล้วแต่ยังไม่ได้ส่งออกข้อมูล 6 อรัญประเทศ โรงพยาบาลดำเนินการฉีดให้ / อยู่ระหว่างดำเนินการ 7 เขาฉกรรจ์ จัดสรรวัคซีนให้แต่ละหน่วยบริการฉีดเอง / จะดำเนินการแล้วเสร็จ 1 ก.ค. 59 / ข้อมูลบางส่วนคีย์แล้วแต่ยังไม่ได้ส่งออกข้อมูล 8 โคกสูง โรงพยาบาลดำเนินการฉีดให้ / จะเริ่มดำเนินการ 28 มิ.ย. - 4 ก.ค. 59

3.การบาดเจ็บทางถนน Roads Traffic Injury

จำนวนผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนจังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2558-2559 แยกรายเดือน ราย เสียชีวิต 8 เดือน = 151 ราย (เฉลี่ย 18.88ราย/เดือน ปีงบฯ 2559 (8 เดือน) อัตราตาย= 27.35 ต่อแสน ปชก. เกินเป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมาย ปี 59 ไม่เกิน 16 ต่อแสน ปชก.) ที่มา : รายงาน 19 สาเหตุ

อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน จังหวัดสระแก้ว แยกตามพื้นที่เกิดเหตุ ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค.-พ.ค.) แยกตามพื้นที่เกิดเหตุ ต่อแสน ปชก 1 3 อัตราตายจากการบาดเจ็บทางถนนเฉาะคนในพื้นที่ เท่ากับ 19.2 ต่อแสน ปชก. อัตราตายจากการบาดเจ็บทางถนนทั้งหมด เท่ากับ 27.35 ต่อแสน ปชก.

4. สรุปการดำเนินงานตามมาตรการความปลอดภัย รถพยาบาลพยาบาล รพ. รถ พยาบาล (คัน) มี GPS ติด CCTV 2 จุด อุบัติเหตุ (ครั้ง) ต.ค.-พ.ค.59 พขร. คน ผ่านหลักสูตร พขร.พยาบาล ร้อยละ ประกันชั้น 1 หมายเหตุ ห้อง คนขับ นอกรถ รพร.สระแก้ว 5 1 10 7 70.00   รพ.คลองหาด 4 100.00 2 รพ.ตาพระยา 3 6 85.71 รพ.วังน้ำเย็น 8 87.50 รพ.วัฒนานคร กำลังดำเนินการ  รพ.อรัญฯ รพ.เขาฉกรรจ์ รพ.โคกสูง - รพ.วังสมบูรณ์ รวม 30 15 29 48 43 89.58 24