การสร้างแรงจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

ความต้องการของมนุษย์ไม่มีที่สิ้นสุด ปัจจัยใดที่ได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการในปัจจัยนั้นจะหมดไป มนุษย์มีความต้องการ (Need) ความต้องการของมนุษย์เป็นลำดับขั้น.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การจูงใจคนทำงาน 1. ความหมายของการจูงใจ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
บทที่ 2: แรงจูงใจ.
การขับเคลื่อน ครอบครัวแกนนำคุณธรรม
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาตน
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
(Code of Ethics of Teaching Profession)
บทที่ 3 การจูงใจคนทำงาน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแรงจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ความหมายและความสําคัญของแรงจูงใจ แรงจูงใจ(Motive) หมายถึง สภาวะที่เป็นแรงกระตุ้นหรือเป็นกระบวนการที่สร้างและกระตุ้น/ผลักดันให้บุคคลเกิดพฤติกรรมหรือแสดงพฤติกรรมออกมา ทั้งที่เป็นพฤติกรรมโดยสัญชาตญาณและพฤติกรรมจากการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแรงจูงใจนั้นต้องการ ความต้องการ(Needs) เป็นปัจจัยพื้นฐานของแรงจูงใจ เพราะพฤติกรรมของมนุษย์ที่มักจะแสดงออก เช่น เจ็บปวด ขาดแคลน บกพร่อง วิตกกังวล

แสดงวงจรทำพฤติกรรมจากความต้องการ 1 มีความต้องการ 6 2 ตรวจสอบตนเองว่ามีความต้องการอีกหรือไม่ แสวงหาแนวทางเพื่อสนองความต้องการ 5 3 ได้รับผลสนองความต้องการ,พอใจ กำหนดเป้าหมายของการทำพฤติกรรม 4 ปฏิบัติพฤติกรรมไปสู่เป้าหมาย

มาสโลว์ (Maslow)

ทฤษฎีของแอลเดอร์เฟอร์ แอลเดอเฟอร์ (Clayton Alderfer) ได้เสนอทฤษฎีการจูงใจที่เกี่ยวกับความต้องการเรียกว่า ทฤษฎีอีอาร์จี (ERG)ซึ่งคล้ายกับทฤษฎีของมาสโลว์ แต่จัดระดับความต้องการใหม่ให้เหลือเพียง 3 ระดับ ซึ่งความต้องการของคนเรางานนั้นต้องเป็นลำดับขั้นไปและแทนด้วยอักษรย่อดังนี้

ทฤษฎีของแอลเดอร์เฟอร์ 1. ความต้องการเพื่อดำรงชีพ (Existence needs :E) เป็นความต้องการที่จำเป็นในการอยู่รอดของชีวิต ได้แก่ความต้องการอาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ค่าตอบแทนและประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ ความต้องการเพื่อดำรงชีพนี้เทียบได้กับความต้องการทางด้านร่างกายและความต้องการทางด้านความปลอดภัยของมาสโลว์นั่นเอง

ทฤษฎีของแอลเดอร์เฟอร์ 2. ความต้องด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (Relatedness needs :R) เป็นความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์กับสังคมรอบด้าน เช่น เพื่อนรวมงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา การได้รับการยอมรับยกย่องจากผู้อื่น ต้องการเป็นผู้นำ เป็นหัวหน้า เป็นผู้ตาม ความต้องด้านความสัมพันธ์ทางสังคมนี้ถ้าเทียบกับความต้องการที่มาสโลว์กำหนดไว้ ก็คือ ความต้องการสังคมและความรัก

ทฤษฎีของแอลเดอร์เฟอร์ 3. ความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs : G) เป็นความต้องที่จะพัฒนาตนเองให้มีความเจริญก้าวหน้าต้องการเป็นผู้มีความคิดริเริม บุกเบิก และใช้ศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นความต้องการขั้นสูงสุด ความต้องการประเภทนี้เหมือนกับความต้องการความสำเร็จสมหวังในชีวิตของมาสโลว์

แม็คเคลลแลนด์ (McClelland)

แมคคลีแลนด์ (McClelland’s Achievement Motivation Theory) 1. ความต้องการความสำเร็จ (Need for achievement) บุคคลที่มีความต้องการความสำเร็จสูง จะมีความปรารถนาอย่างรุนแรงที่จะประสบความสำเร็จและกลัวความล้มเหลว ต้องการการแข่งขันและกำหนดเป้าหมายที่ยากกับตัวเอง ชอบเสี่ยงแต่ไม่ชอบพนัน ชอบการวิเคราะห์และประเมินปัญหา มีความรับผิดชอบ 2. ความต้องการความผูกพัน (Need for affiliation) บุคคลที่มีความต้องการในข้อนี้สูงจะพอใจกับการเป็นที่รัก และมีแนวโน้มจะเลี่ยงการต่อต้านโดยกลุ่มสมาชิกของสังคม เขาจะรักษาความสัมพันธ์อันดีในสังคม พอใจในการให้ความร่วมมือ มากกว่าการแย่งชิง พยายามสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น สร้างความเข้าใจอันดีจากสังคมที่เขาเป็นสมาชิก

แมคคลีแลนด์ (McClelland’s Achievement Motivation Theory) 3. ความต้องการอำนาจ (Need for power: NPOW) บุคคลต้องการอำนาจเพื่อมีอิทธิพลเหนือผู้อื่น (อำนาจของบุคคล เป็นอำนาจทางลบ : ใช้อำนาจรุกรานผู้อื่นเพื่อให้ตนเองบรรลุเป้าหมาย) ต้องการเป็นผู้นำในการตัดสินใจ มีความพอใจที่จะอยู่ในสภาพการณ์แข่งขันหรือสถานการณ์ซึ่งมุ่งสู่การมีสถานภาพที่ดีและมีความต้องการความภาคภูมิใจรวมทั้งการมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่นด้วยการทำงานที่มีประสิทธิผล

ปัจจัยการจูงใจ ปัจจัยสุขอนามัย ทฤษฎีลำดับขั้นความ ต้องการของมาสโลว์ ทฤษฎี ERGของ แอลเดอร์เฟอร์ ทฤษฎี 2 ปัจจัย ของเฮอร์ซเบิร์ก ทฤษฎีความต้องการที่ เกิดขึ้นภายหลังของ แมคเคลแลนด์ ความต้องการ ความสำเร็จในชีวิต ความต้องการ เจริญก้าวหน้า ปัจจัยการจูงใจ - การประสบความสำเร็จในงาน - การได้รับการยอมรับ - ความชอบในลักษณะงาน - ความรับผิดชอบ - ความก้าวหน้า - การมีโอกาสเจริญเติบโต ความต้องการ ประสบผลสำเร็จ ความต้องการ การยกย่อง ความต้องการ ในอำนาจ ความต้องการ ด้านความสัมพันธ์ ความต้องการ ทางสังคม ปัจจัยสุขอนามัย - นโยบายและการบริหารงาน - การบังคับบัญชา - สภาพการทำงาน - ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - เงินเดือน - สถานภาพ - ความมั่นคงในการทำงาน ความต้องการ มีส่วนร่วม ความต้องการ ความปลอดภัย ความต้องการ เพื่อดำรงชีพ ความต้องการ ด้านร่างกาย

สรุป แรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับความต้องการอย่างแยกไม่ออก และต่างก็เป็นตัวเร่งที่ สำคัญให้คนทำงานอย่างมีทิศทางและมีเป้าหมาย มีทฤษฎีแรงจูงใจและความต้องการ เป็นจำนวนมากที่พยายามอธิบายเพื่อค้นหาคำตอบว่าแรงจูงใจมีกำเนิดมาอย่างไร อะไร เป็นตัวผลักดันให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์หรือผลักดันให้มนุษย์ทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพียงใด แรงจูงใจจึงนับว่ามีความสาคัญต่อการบริหารงานและผู้บริหาร เป็นอย่างยิ่ง