Chapter 2: Presentation of Data

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

System Requirement Collection (2)
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
การวัดค่ากลาง - ค่าเฉลี่ย
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
การใช้งาน Microsoft Excel
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ความต้องการของระบบ GPP (System Requirement Specification : SRS)
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
Chapter 9: Chi-Square Test
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 2: Presentation of Data การนำเสนอข้อมูล

เนื้อหา: การนำเสนอข้อมูล การแจกแจงความถี่

การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data) เป็นการนำเอาข้อมูลที่รวบรวมได้นั้นมาจัดให้เป็น ระเบียบเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวก ในการอ่านหรือการทำความเข้าใจกับข้อมูลนั้น เป็น การจูงใจ และเพื่อสะดวกในการ วิเคราะห์เปรียบเทียบ ซึ่งอาจนำเสนอในรูปกราฟ ตาราง หรือ บทความ

การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data) • การนำเสนอรูปบทความ (Text presentation) • การนำเสนอรูปบทความกึ่งตาราง (Semi-tabular presentation) • การนำเสนอรูปตาราง (Tabular presentation) • การนำเสนอรูปแผนภูมิและกราฟ (Chart and Graphic presentation)

การนำเสนอรูปบทความ (Text presentation) ตัวอย่าง 2.1 “ จากผลการสำรวจประชากรในเดือน กุมภาพันธ์ 2561 พบว่ามีประชากรรวมทั้งสิ้น 64.76 ล้านคน เป็นผู้ที่มีอายุ15 ปีขึ้นไปจำนวน 49.02 ล้าน คน หรือคิดเป็นร้อยละ75.7 ในจำนวนนี้เป็นผู้ที่อยู่ใน กำลังแรงงานประมาณ 34.95 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อย ละ 54 เป็นผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน 14.07 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 22.7 สำหรับผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 15.74 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 24.3 ”

การนำเสนอรูปตารางกึ่งบทความ (Semi-tabular presentation) ตัวอย่าง 2.2 จากการสำรวจประชากรเดือนกุมภาพันธ์ 2561 พบว่า มีประชากรรวมทั้งสิ้น 64.76 ล้านคน จำแนก ได้เป็นดังนี้ - ประชากรที่มีอายุ15 ปีขึ้นไป จำนวน 49.02 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 75.7 - ผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน ประมาณ 37.95 ล้าน คน คิดเป็นร้อยละ 54.0 - ผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน ประมาณ 14.07 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 22.7 - ประชากรที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 15.74 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 27.3

ตารางจำแนกทางเดียวหรือจำแนกตามตัวแปรเดียว ตาราง 2.1 แสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของ นิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม * (หมายเหตุข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลสมมติ)

ตาราง 2.2 แสดงจำนวนนิสิตคณะการบัญชีและการจัดการ จำแนกตามวิชาเอก สาขาวิชา จำนวนนิสิต บัญชี 576 การตลาด 45 การจัดการ 98 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 456 ธุรกิจระหว่างประเทศ 31 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 22 การจัดการประกอบการ การบริหารการเงิน 67 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 56 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ 35 การจัดการพาณิชอิเล็กทรอนิกส์ 21 * (หมายเหตุข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลสมมติ)

ตาราง 2.3 แสดงความสัมพันธ์ของการสูบบุหรี่กับการเป็นมะเร็งที่ปอด ตารางข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว จะเรียกว่า ‘ตารางการณ์จร (Contingency table)’ * (หมายเหตุข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลสมมติ)

ตาราง 2.4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับความสนใจการเมือง * (หมายเหตุข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลสมมติ)

การนำเสนอรูปแผนภูมิและกราฟ (Chart and graphic presentation) เป็นการนำเสนอในลักษณะนี้ทำให้เห็นรูปร่าง สามารถดึงดูดความสนใจ จูงใจให้มีผู้สนใจอ่าน รายงานมากขึ้นและสะดวกในการเปรียบเทียบ ซึ่งอาจ นำเสนอดังนี้ • แผนภูมิแท่ง (Bar chart) • แผนภูมิวงกลม (Pie chart) • แผนภูมิรูปภาพ (Pictogram) • กราฟเส้น (Line graph)

แผนภูมิแท่ง (Bar chart) จากตาราง 2.1 แสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของ นิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

แผนภูมิแท่ง (Bar chart) ภาพที่ 2.1 : แผนภูมิแท่งแสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของนิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

แผนภูมิวงกลมหรือแผนภูมิกง (Pie chart) ภาพที่ 2.2 : แผนภูมิวงกลมแสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของนิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กราฟเส้น (Line graph) ตาราง 2.5 แสดงอุณหภูมิผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา 2 วิธี คือ การรับประทานยา และการเช็ดตัว

ภาพที่ 2.3 แผนภูมิเส้นอุณหภูมิของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา 2 วิธี

การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) จะพิจารณานำเสนอตามลักษณะแสดงข้อเท็จจริงของ ข้อมูล - ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) - ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data)

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data or Categorical Data)

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data or Categorical Data)

จากตาราง 2.1 ผลการสำรวจความคิดเห็นของนิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

แผนภูมิแท่ง (Bar chart) ภาพที่ 2.1 : แผนภูมิแท่งแสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของนิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

แผนภูมิวงกลมหรือแผนภูมิกง (Pie chart) ภาพที่ 2.2 : แผนภูมิวงกลมแสดงผลการสำรวจความคิดเห็นของนิสิต เกี่ยวกับการเป็นมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data or Categorical Data)

จากตาราง 2.3 แสดงความสัมพันธ์ของการสูบบุหรี่กับการเป็นมะเร็งที่ปอด ตารางข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว จะเรียกว่า ‘ตารางการณ์จร (Contingency table)’

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data or Numerical Data)

Discrete data การจัดระเบียบและการนำเสนอข้อมูลไม่ต่อเนื่อง ทำได้เช่นเดียวกับข้อมูลเชิง คุณภาพ คือแสดงในรูปของความถี่พร้อมทั้งคำนวณ ค่าความถี่สัมพัทธ์ ตัวอย่าง 2.3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นวันลาของพนักงาน บริษัทแห่งหนึ่ง จำนวน 30 คน 1 0 1 1 0 1 0 1 1 0 2 2 0 0 0 1 2 1 2 0 0 1 6 4 3 3 3 1 2 4

ตาราง 2.6 แสดงจำนวนวันลาของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data or Numerical Data)

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data or Numerical Data)

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data or Numerical Data)

Ordered Array นำข้อมูลที่รวบรวมได้มาดำเนินการโดยเรียงลำดับ ข้อมูลจากค่าน้อยไปยังค่ามาก Smallest to largest ข้อมูลดิบ (raw data) ที่เก็บรวบรวมได้เป็นดังนี้ 24, 26, 24, 21, 27, 27, 30, 41, 32, 38 เรียงลำดับข้อมูลจากค่าน้อยไปยังค่ามาก (Data in ordered array) 21, 24, 24, 26, 27, 27, 30, 32, 38, 41

แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and leaf display) เป็นการนำเสนอข้อมูลในรูปกึ่งแผนภาพ ที่ทำได้ง่าย รวดเร็ว มีคุณสมบัติเหมือน ตารางแจกแจงความถี่แต่ให้รายละเอียดมากกว่า และ ใช้เป็นฮีสโตแกรมไปในตัว สำหรับวิธีการทำให้ดูว่าข้อมูลเป็นตัวเลขกี่หลัก โดยที่ ตัวเลขจะถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรก เรียกว่า ลำต้น (Stem) ส่วนสอง เรียกว่า ใบ (leaf)

ตัวอย่าง 2.4 สร้างแผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf Display) จากข้อมูล 21, 24, 24, 26, 27, 27, 30, 32, 38, 41 แบ่งค่าสังเกตแต่ละค่าเป็นลำต้นและใบไม้ ลำต้น แทน กลุ่ม (Class) ใบ แทน การนับจำนวน (Count) หรือความถี่

ตัวอย่าง 2.5

ภาพที่ 2.4 : แผนภาพลำต้นและใบ

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data or Numerical Data)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง (Tabulating Numerical Data) การสร้างตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลเชิงปริมาณ ทำได้2 วิธี ดังนี้ การแจกแจงความถี่แบบไม่ต้องจัดกลุ่ม (Ungrouped frequency distribution) การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม (Grouped frequency distribution)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบไม่ต้องจัดกลุ่ม เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก บันทึก (Tally) จำนวนครั้งที่ค่าสังเกตแต่ละค่าเกิดขึ้น โดยให้รอยขีด แทนจำนวนครั้งของการเกิด นับความถี่ที่ค่าสังเกตแต่ละค่าเกิดขึ้น และใส่ใน ตารางแจกแจงความถี่ คำนวณค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative frequency): ความถี่สัมพัทธ์ = ความถี่ / จำนวนค่าสังเกต ทั้งหมด

จงแสดงขอมูลชุดนี้ในรูปของตารางแจก แจงความถี่ การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบไม่ต้องจัดกลุ่ม จากตัวอย่าง 2.3 ข้อมูลต่อไปนี้แสดงวันลาของ พนักงานจำนวน 30 คน 1 0 1 1 0 1 0 1 1 0 2 2 0 0 0 1 2 1 2 0 0 1 6 4 3 3 3 1 2 4 จงแสดงขอมูลชุดนี้ในรูปของตารางแจก แจงความถี่

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบไม่ต้องจัดกลุ่ม ตาราง 2.7 ตารางแจกแจงความถี่แบบไม่ต้องจัดกลุ่ม

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม สามารถปรับให้แต่ละชั้นมีค่าต่อเนื่องกัน โดยกำหนด ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง (class boundaries or real class limits) ของแต่ละชั้น: ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงหรือขอบเขตชั้นล่าง (lower real class limit or lower class boundary) ขีดจำกัดบนที่แท้จริงหรือขอบเขตชั้นบน (upper real class limit or upper class boundary)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม คำนวณจุดกึ่งกลางชั้น (Class midpoints) class midpoint = or class midpoint =

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม นับจำนวนค่าสังเกตที่ตกในแต่ละชั้น (Class frequency) คำนวณความถี่สัมพัทธ์ (Relative frequency) ของแต่ละชั้น: Relative frequency =

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม ตัวอย่าง 2.6 การสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบจัด กลุ่ม เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก: 12, 13, 17, 21, 24, 24, 26, 27, 27, 30, 32, 35, 37, 38, 41, 43, 44, 46, 53, 58 หาค่าพิสัย : 58 - 12 = 46 กำหนดจำนวนชั้น : 5 หาอันตรภาคชั้น : (46/5) = 10 หาขีดจำกัดล่างของแต่ละชั้น : 10, 20, 30, 40, 50 หาขีดจำกัดบนของแต่ละชั้น : 19, 29, 39, 49, 59 หาจุดกึ่งกลางชั้น : 14.5, 24.5, 34.5, 44.5, 54.5 นับความถี่ในแต่ละชั้น

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: การแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม ตาราง 2.8 ตารางแจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม

Numerical Data Presentation

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: ฮิสโตแกรม (Histogram) ตัวอย่าง 2.7 จากตัวอย่าง 2.6 จงสร้างตารางฮิสโตแก รม ภาพที่ 2.5 : แผนภาพฮิสโตแกรม

ภาพที่ 2.6 : แผนภาพฮิสโตแกรมสำหรับสร้างรูปหลายเหลี่ยมแห่ง ความถี่ การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่ (Frequency polygon) ตัวอย่าง 2.8 จากตัวอย่าง 2.6 จงสร้างรูปหลายเหลี่ยม แห่งความถี่ ภาพที่ 2.6 : แผนภาพฮิสโตแกรมสำหรับสร้างรูปหลายเหลี่ยมแห่ง ความถี่

ภาพที่ 2.7 : แผนภาพรูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่ การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่ (Frequency polygon) ภาพที่ 2.7 : แผนภาพรูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปตาราง: ตารางแจกแจงความถี่ที่มี ชั้นเปิด ตัวอย่าง 2.9 จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ที่มีชั้นเปิด ตาราง 2.9 แสดงการแจกแจงความถี่ที่มีชั้นเปิดของรายได้ของพนักงาน 300 คน

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่สะสม (Ogive) ชนิดน้อยกว่า ตัวอย่าง 2.10 จากตัวอย่าง 2.6 จงสร้างแผนภาพโค้ง ความถี่สะสมชนิดน้อยกว่า ตาราง 2.10 แสดงการแจกแจงความถี่สะสมชนิดน้อยกว่า

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่สะสม (Ogive) ชนิดน้อยกว่า Class Boundaries (Not Midpoints) ภาพที่ 2.8 : แผนภาพโค้งความถี่สะสมชนิดน้อยกว่า

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่สะสม (Ogive) ชนิดมากกว่า ตัวอย่าง 2.11 จากตัวอย่าง 2.6 ข้อมูล : 12, 13, 17, 21, 24, 24, 26, 27, 27, 30, 32, 35, 37, 38, 41, 43, 44, 46, 53, 58 ตาราง 2.11 แสดงการแจกแจงความถี่สะสมชนิดมากกว่า

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่สะสม (Ogive) ชนิดมากกว่า Class Boundaries (Not Midpoints) ภาพที่ 2.9 : แผนภาพโค้งความถี่สะสมชนิดมากกว่า

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่ (Frequency curve) โค้งความถี่เกิดจากการปรับรูปหลายเหลี่ยมความถี่ให้ เรียบ ซึ่งสามารถ แบ่งได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้ 2. รูปสมมาตรหรือระฆัง (Symmetrical or bell shape)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่ (Frequency curve) 2. รูปไม่สมมาตรหรือเบ้ (Asymmetrical or skewed shape)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่ (Frequency curve) 3. รูปตัว J (J shape) 4. รูปตัว U (U shape)

การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปกราฟ: โค้งความถี่ (Frequency curve) 5. รูปสองยอดและหลายยอด (Bimodal and Multimodal)