โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบขับถ่ายของเสีย.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ชั่วโมงที่ 38 โปรตีนในร่างกาย
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
Alkyne และ Cycloalkyne
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ระบบย่อยอาหาร.
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
Tree.
Structure of Flowering Plant
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ชีวโมเลกุล.
เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์ กรดอะมิโน 2 โมเลกุล เกิดปฏิกิริยารวมตัวกันจะได้สารประกอบที่เรียกว่า ไดเพปไทด์  กรดอะมิโน 3 โมเลกุล โมเลกุลทำปฏิกิริยารวมตัวกันจะได้สารประกอบ ไตรเพปไทด์ กรดอะมิโนหลายๆ โมเลกุลทำปฏิกิริยากันจนเกิดเป็นสายยาว จะได้สารประกอบซึ่งเรียกว่า  พอลิเพปไทด์

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ โปรตีนประกอบด้วยธาตุต่างๆ หลายชนิด ได้แก่ C H O N บางชนิดมี P S Fe Zn Cu I เป็นต้น เป็นสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5,000 g/mol เกิดจากกรดอะมิโน มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ จัดเป็นสารพวกพอลิเอไมด์ หรือพอลิเพปไทด์ เกิดโครงสร้างได้ 4 ระดับ คือ โครงสร้างปฐมภูมิ, โครงสร้างทุติภูมิโครงสร้างตติยภูมิ และ โครงสร้างจตุรภูมิ

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เกิดโครงสร้างได้ 4 ระดับ คือ โครงสร้างปฐมภูมิ, โครงสร้างทุติภูมิโครงสร้างตติยภูมิ และ โครงสร้างจตุรภูมิ

โครงสร้างปฐมภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์ หรือในโมเลกุลโปรตีน แต่ละชนิดจะมีจำนวนและลำดับของกรดอะมิโนที่จำเพาะ การจัดลำดับกรดอะมิโนในโครงสร้างปฐมภูมิกำหนดให้ปลายหมู่อะมิโนอยู่ด้านซ้าย และปลายหมู่คาร์บอกซิลอยู่ด้านขวา

โครงสร้างปฐมภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ไดเพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนไกลซีน (Gly) และอะลานีน (Ala) สามารถเขียนลำดับกรดอะมิโนที่ต่อกันได้ดังนี้ ไตรเพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนไทโรซีน (Tyr) ฮิสติดีน (His) และซีสเตอีน (Cys) สามารถเขียนลำดับกรดอะมิโนที่ต่อกันได้ดังนี้

โครงสร้างทุติยภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O ของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของกรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วย ในสายพอลิเพปไทด์เดียวกัน จะเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวซึ่ง เรียกว่า เกลียวแอลฟา ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O กับ N-H ของกรดอะมิโนระหว่างสายพอลิเพปไทด์ที่อยู่คู่กัน จะเกิดโครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า

โครงสร้างทุติยภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ α-helix β-pleated sheet

โครงสร้างทุติยภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O ของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของกรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วย ในสายพอลิเพปไทด์เดียวกัน จะเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวซึ่ง เรียกว่า เกลียวแอลฟา ถ้าเกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O กับ N-H ของกรดอะมิโนระหว่างสายพอลิเพปไทด์ที่อยู่คู่กัน จะเกิดโครงสร้างมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า

โครงสร้างตติยภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เกิดจากโครงสร้างเกลียวแอลฟาม้วนเข้าหากัน และไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยวอ่อนๆ โครงสร้างตติยภูมิของโปรตีนแต่ละชนิดจะมีลักษณะจำเพาะ ขึ้นอยู่กับลำดับของกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ ทำให้เกิดเป็นโครงสร้างที่มีความเหมาะสมสำหรับการทำหน้าที่ต่างๆ ของโปรตีนเหล่านั้น

โครงสร้างจตุรภูมิ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียว หรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ โดยมีแรงยึดเหนี่ยวยึดหน่วยย่อยเข้าด้วยกัน ลักษณะโครงสร้างใหม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตติยภูมิซึ่งเป็นหน่วยย่อย โดยอาจมีการรวมตัวกันเป็นลักษณะก้อนกลม เช่น ฮีโมโกลบิน หรือเป็นมัดคล้ายเส้นใย เช่น คอลลาเจน

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

โครงสร้างของโปรตีน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

การทดสอบโปรตีน ทดสอบได้ด้วยสารละลายไบยูเร็ต (CuSO4 เจือจางในเบส) สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ทดสอบได้ด้วยสารละลายไบยูเร็ต (CuSO4 เจือจางในเบส) CuSO4เจือจางในสารละลายเบส ทำปฏิกิริยากับองค์ประกอบย่อยของโปรตีนที่เรียกว่า กรดอะมิโน ได้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสีของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างคอปเปอร์ (II) ไอออนกับไนโตรเจน ใช้ทดสอบสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป

การทดสอบโปรตีน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ