.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การออกแบบและเทคโนโลยี
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา IEM3105 Industrial Maintenance System อาจารย์ผู้สอน อ.สมศักดิ์ มีนคร Mobile:08909150933 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.: บทที่ 5 การบำรุงรักษาด้วยตัวเอง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: บทที่ 5 การบำรุงรักษาด้วยตัวเอง วัตถุประสงค์การบำรุงรักษาด้วยตัวเอง กิจกรรมการป้องกันการเสื่อมสภาพ เดินเครื่องอย่างถูกต้อง - ตรวจเช็คประจำวัน การเกิดสภาพที่ควรจะเป็นของเครื่องจักร ปรับปรุงสภาพเงื่อนไขพื้นฐาน - พัฒนาจิตสำนึกของคน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ทำลายกำแพงกั้นระหว่างส่วนงาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำลายกำแพงกั้นระหว่างส่วนงาน ฝ่ายเดินเครื่องผลิต ไม่มีเวลาตรวจเช็ค งานตรวจเช็คเป็นหน้าที่ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายซ่อมบำรุง ไม่มีเวลา/งานซ่อมเยอะ ฝ่ายผลิตไม่หล่อลื่นขณะใช้งาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ทำลายกำแพงกั้นระหว่างส่วนงาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำลายกำแพงกั้นระหว่างส่วนงาน ฝ่ายเดินเครื่องผลิต เปลี่ยนจิตสำนึก ป้องกันการเสื่อมสภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง แสดงความสามารถอย่างเต็มที่/มีประสิทธิภาพ ตรวจวัดการเสื่อมสภาพ/ให้เกิดสภาพที่ควรจะเป็น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

กิจกรรมสำหรับการดูแลรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University กิจกรรมสำหรับการดูแลรักษา 1. กิจกรรมการรักษาสภาพ เดินเครื่องอย่างปกติ - การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน - การบำรุงรักษาเชิงทำนาย - การบำรุงรักษาเมื่อขัดข้อง 2. กิจกรรมการปรับปรุง การบำรุงรักษาเชิงแก้ไข - การป้องกันการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University กิจกรรมสำหรับฝ่ายผลิต กิจกรรมการรักษาสภาพ กิจกรรมการปรับปรุง การป้องกันการเสื่อมสภาพ การตรวจวัดการเสื่อมสภาพ ให้เกิดสภาพที่ปกติ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การป้องกันการเสื่อมสภาพ การตรวจวัดการเสื่อมสภาพ ให้เกิดสภาพที่ปกติ เดินเครื่องอย่างถูกต้อง - ปรับแต่งอย่างถูกต้อง - ปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน - คาดคะเนและค้นพบความผิดปกติได้เร็ว การตรวจเช็คประจำวัน - การตรวจเช็คตามกำหนดเวลา การซ่อมเล็กๆน้อยๆ - การติดต่อสื่อสารรวดเร็ว - การซ่อมแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

กิจกรรมสำหรับฝ่ายซ่อมบำรุง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University กิจกรรมสำหรับฝ่ายซ่อมบำรุง กิจกรรมการตรวจวัดการเสื่อมสภาพ - กิจกรรมการทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพเดิม - อบรมชี้แนะเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกับฝ่ายผลิต - การให้ความช่วยเหลือฝ่ายผลิตในด้านเทคนิค - วิจัยและพัฒนาเทคนิคการซ่อมบำรุง - วิจัยและการใช้เครื่องในการวิเคราะห์การชำรุดเสียหาย - ให้ความร่วมมือกับฝ่ายออกแบบและพัฒนา - การควบคุมดูแลอะไหล่สำรอง และเครื่องมือ - การสร้างระบบการจัดการเก็บข้อมูล .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แนวคิดในการปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 1. สภาวะเงื่อนไขพื้นฐานและสภาพที่ควรจะเป็น 1. สภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 2. สภาพที่ควรจะเป็น การเสื่อมสภาพโดยธรรมชาติ คุณสมบัติพื้นฐานของเครื่องจักร การเสื่อมสภาพเชิงบังคับ คุณสมบัติพื้นฐานเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University สภาพที่ควรจะเป็นของเครื่องจักรที่มี V-belt 4 เส้น - ต้องมีสายพาน 4 เส้น - ต้องไม่สกปรก - ต้องไม่มีรอยขีดข่วน - ต้องไม่ขาด - ต้องไม่สึกกร่อน - ต้องไม่ยืด - ต้องไม่พองตัว - ต้องไม่แกว่ง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University สภาวะเงื่อนไขพื้นฐานและสภาพที่ควรจะเป็น การชำรุดเสียหาย การเสื่อมสภาพตามธรรมชาติ (อายุการใช้งานที่มีอยู่) การเสื่อมสภาพเชิงบังคับ (การเสื่อมสภาพเนื่องจากคน) พยายามยืดอายุการใช้งาน กำจัดสาเหตุ การบำรุงรักษาเชิงแก้ไข 1. ป้องกันความผิดพลาดโดยเพิ่มความสะดวกในการเดินเครื่อง 2. เพิ่มความสะดวกในการบำรุงรักษาและเพิ่มคุณภาพของการซ่อมบำรุง 3. เพิ่มความน่าเชื่อถือ และเพิ่มความปลอดภัย การปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 1. การทำความสะอาด : กำจัดขยะและความสกปรกออกให้หมด2. การหล่อลื่น ป้องกันความสกปรกในน้ำมันหล่อลื่น และน้ำมันหล่อลื่นขาด 3. การขันแน่น ป้องกันการหลวมและการตกหล่อนของ โบลต์และนอต .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แนวคิดในการปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 2. การทำความสะอาด ความสำคัญของการทำความสะอาด ประเด็นของการทำความสะอาด ประเด็นประเด็นสำคัญของการตรวจเช็ค .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความสำคัญของการทำความสะอาด - สาเหตุของการชำรุดเสียหาย - สาเหตุของของเสียทางด้านคุณภาพ - สาเหตุของการเสื่อมสภาพเชิงบังคับ - สาเหตุของความสูญเสียทางด้านความเร็ว .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ประเด็นของการทำความสะอาด - การทำความสะอาดเป็นงานส่วนหนึ่งที่พนักงานในระดับปฏิบัติการ - ให้สิ่งสกปรกที่หมักหมมเป็นระยะเวลานานออกให้หมดอย่างจริงจัง - ทำความสะอาดทุกซอกทุกมุม - ทำที่อุปกรณ์เสริมต่าง ๆ - อย่าท้อแท้ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ประเด็นประเด็นสำคัญของการตรวจเช็ค - การค้นหาจุดบกพร่อง - วิเคราะห์หาสาเหตุของการค้นพบจุดบกพร่อง - มองหาจุดที่ก่อให้เกิดความสกปรก - เอาใจใส่ในจุดบกพร่องที่ค้นพบยาก .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แนวคิดในการปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 3. การตรวจเช็คประจำวัน การที่สามารถรู้สึกได้ว่า “สิ่งนี้ผิดปกติ” ในขณะที่เดินเครื่องจักรหรือปฏิบัติงาน หรือเดินตรวจตราและสามารถที่จะ “แก้ไขหรือติดต่อสื่อสารได้อย่างถูกต้อง โดยอาศัยทักษะความชำนาญและเครื่องมือที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ check sheet .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 1 การทำความสะอาดขั้นต้น(การทำความสะอาดและการตรวจเช็ก) ขั้นตอนที่ 2 จุดที่ก่อให้เกิดความสกปรกและตำแหน่งที่ยากลำบากในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานการทำความสะอาดและการตรวจเช็ก ขั้นตอนที่ 4 การตรวจเช็กอุปกรณ์โดยรวม ขั้นตอนที่ 5 การตรวจเช็กกระบวนการโดยรวม ขั้นตอนที่ 6 จัดทำการบำรุงรักษาด้วยตนเองให้เป็นระบบ ขั้นตอนที่ 7 ทำการควบคุมดูแลด้วยตนเองอย่างจริงจัง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 1 การทำความสะอาดขั้นต้น (ทำความสะอาดและตรวจเช็ก) 1. การทำความสะอาดขั้นต้นที่แท้จริง - ถ้าตรงนี้สกปรก จะเกิดอะไร - ถ้าตรงนี้เป็นสนิม จะเกิดอะไร - ถ้าตรงนี้อุดตัน จะเกิดอะไร 2. ค้นหาจุดบกพร่องต่าง - ความบกพร่องเล็กๆน้อย - สภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน - ตำแหน่งที่ยากลำบาก - ตำแหน่งที่ไม่ปลอดภัย .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 2 จุดที่ก่อให้เกิดความสกปรกและตำแหน่งที่ยากลำบากในการปฏิบัติงาน มาตรการแก้ไขจุดที่ก่อให้เกิดการรั่วล้น 1. การป้องกันรั่วล้นและฟุ้งกระจายของผลิตภัณฑ์หรือวัตถุดิบ 2. การป้องกันรั่วล้นและฟุ้งกระจายของน้ำมันหล่อลื่น และไฮดรอลิก 3.การป้องกันรั่วล้น การพ่นออก และฟุ้งกระจายของของฝุ่นจากกระบวนการ และของไอ มาตรการแก้ไขจุดที่ยากลำบาก 1. การปรับปรุงตำแหน่งที่ยากลำบาก ในการทำความสะอาด 2. การปรับปรุงตำแหน่งที่ยากลำบาก ในการตรวจเช็ก 3. การปรับปรุงตำแหน่งที่ยากลำบาก ในการหล่อลื่น 4. การปรับปรุงตำแหน่งที่ยากลำบาก ในการขันแน่น 5. การปรับปรุงตำแหน่งที่ยากลำบาก ในการเดินเครื่องและปรับแต่ง ลดเวลาในการทำความสะอาด ตรวจเช็ก และหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานการทำความสะอาดและการตรวจเช็ก เกณฑ์มาตรฐานที่บังคับให้ปฏิบัตินั้นสามารถปฏิบัติได้จริง การควบคุมดูแลด้วยการมองอย่างจริงจัง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 4 การตรวจเช็กอุปกรณ์โดยรวม (อบรมพัฒนาทักษะการตรวจเช็ก) สร้างพนักงานในระดับปฏิบัติการที่มีความชำนาญในเรื่องเครื่องจักร ขั้นตอนการอบรม การเตรียมการฝึกอบรมการตรวจเช็ก ดำเนินการฝึกอบรมการตรวจเช็ก .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 5 การตรวจเช็กกระบวนการโดยรวม (อบรมพัฒนาทักษะการเดินเครื่อง) สร้างพนักงานในระดับปฏิบัติการที่มีความชำนาญในด้านกระบวนการ ขั้นตอนการตรวจเช็กกระบวนการ การเตรียมการตรวจเช็กกระบวนการ ดำเนินการตรวจเช็กกระบวนการ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 6 ทำให้การบำรุงรักษาด้วยตนเองเป็นระบบ การจัดทำรายการควบคุมต่างๆ ให้เป็นมาตรฐาน การจัดทำคู่มือการบำรุงรักษาคุณภาพ ให้การอบรมความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องจักรกับคุณภาพ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 7 ทำการควบคุมดูแลด้วยตนเองอย่างจริงจัง ให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ให้มีการเก็บข้อมูลการบำรุงรักษาไว้ทำการวิเคราะห์ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::