การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559
Bronfenbrenner's Social-Ecological Model of Development
Product Line: สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ KPI: ร้อยละเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 Input พัฒนาการเด็กล่าช้า 30 % ในเด็กไทย (อ้างอิงจากข้อมูล สตป. พ.ศ.2558 โดยใช้เครื่องมือ DSPM ) ไม่มีการอ้างอิงหลักสูตรส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-3 ปี ที่เป็นทางการ (มีเฉพาะหลักสูตรปฐมวัยปี พ.ศ. 2546 ของกระทรวงศึกษา อายุต่ำกว่า 3 ปี ซึ่งไม่ได้ระบุรายละเอียดกิจกรรมที่ใช้ส่งเสริม) Output หลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี (ระยะเวลา 2559-2560) Lean process ลดระยะเวลาจาก 3 ปี เป็น 2 ปี โดย เพิ่มแหล่งทดลองใช้หลักสูตรฯ ในศูนย์เด็กเล็กของ ศอ.สังกัดกรมอนามัย
กรอบการจัดทำหลักสูตรของสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ 1 การศึกษา ปี พ.ศ. 2559 = กระบวนการ 1+2+3 ปี พ.ศ. 2560 = กระบวนการ 2+3+4+5 2 3 4 หลัก 5 อ้างอิง ; กระบวนการพัฒนาหลักสูตรโดยประยุกต์จากแนวคิดของไทเลอร์
หัวใจของการจัดทำหลักสูตร ฯ Key : เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการทุกช่วงอายุให้สมวัย เฝ้าระวังและคัดกรองพัฒนาการเด็กด้วย DSPM (ตามอายุจริง) นิเทศกำกับติดตามครูและหลักสูตร ปรับปรุงแก้ไขดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน ครูพี่เลี้ยงใช้หลักสูตรในเด็กกลุ่มอายุต่ำกว่า 3 ปี จัดทำหลักสูตร / จัดทำกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการ P D C A
หมายเหตุ ;ใช้เครื่องมือ DSPM
แล้วพวกเราจะร่วมสร้างสรรค์ไปด้วยกัน