ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 CoP การเงินและบัญชี ม.อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552
ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ งานบัญชีและการเงิน สำนัก ชลประทานที 17.
ค่าใช้สอยในการเดินทางไปราชการ
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ค่าใช้จ่ายในการ บริหารงาน ของส่วนราชการ พ. ศ
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
ความรู้ด้านงานธุรการ งาน สารบรรณ งานการเงินและพัสดุเบื้องต้น สำหรับข้าราชการและ เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกัน รักษาป่า ธุรการและสาร บรรณ การเงิน.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
สรุปค่าใช้จ่าย ปี 59 (งบ สป.สาธารณสุข) ณ 23 ก.ย.59
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
นางนิโลบล แวววับศรี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ ผู้อำนวยการกองคลัง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ปัญหาที่เกิดขึ้น เข้าใจไม่ถูกต้อง ระหว่างประชุมราชการ กับ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิญผู้เชี่ยวชาญมาประชุม ต้องจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ ถูกทักท้วงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กรณี เดินทางไปราชการ เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนาฯ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น.
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบเอกสาร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
สรุปค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ 3 สิงหาคม 2550 •
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
โดย...กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
สรุปค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
เอกสารประกอบการบรรยาย การเบิก – จ่าย ยุทธอาภรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ ให้ใช้
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปราชการ ………….. ฉบับปรับปรุงล่าสุด.
ค่าพาหนะ  ยานพาหนะประจำทาง : รถไฟ รถโดยสาร เรือประจำทาง
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 CoP การเงินและบัญชี ม.อ.

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 บังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาฯ คือ วันที่ 12 เมษายน 2554 ยกเว้น ข้อ 4, ข้อ 5 บัญชีหมายเลข 2 และบัญชีหมายเลข 3 บังคับใช้ตั้งแต่วันที่มาตรา 3, 4 และ 5 แห่ง พรฎ.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553 มีผลบังคับใช้เป็นต้นไป

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ค่าเช่าที่พัก ให้เบิกตามบัญชีหมายเลข 3 เบิกค่าเช่าที่พักลักษณะจ่ายจริงหรือ เหมาจ่ายก็ได้ ถ้าเดินทางเป็นหมู่คณะ เลือกเบิกในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ประเภท : ระดับ อัตรา/บาท/วัน ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น หรือระดับ 8 ลงมา หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 240 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง หรือระดับ 9 ขึ้นไป หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 270

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 2 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 2 ค่าเช่าที่พัก ให้เบิกตามบัญชีหมายเลข 3 เบิกค่าเช่าที่พักลักษณะจ่ายจริงหรือ เหมาจ่ายก็ได้ ถ้าเดินทางเป็นหมู่คณะ เลือกเบิกในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ

ตารางเปรียบเทียบอัตราการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าที่พัก ข้าราชการ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก เดิม ใหม่ ใหม่ (เบิกจ่ายจริง) ใหม่ (เบิกเหมาจ่าย) (บาท : วัน : คน) ระดับ 1-2 180 240 เหมาจ่ายไม่เกิน 1,000 บาท 1,500 850 800 ระดับ 3-5 210 ระดับ 6-8 ระดับ 8 ระดับ 9 270 2,200 1,200 ระดับ 10 ขึ้นไป จ่ายจริงไม่เกิน 2,500 บาท 2,500 1,400

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ตามระเบียบฯ เดิม พ.ศ. 2550 ข้อ 5/1 กรณีผู้เดินทางถึงแก่ความตายระหว่างไปราชการ มิได้เกิดจากการประทุษร้ายด้วยเหตุส่วนตัวหรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตน บุคคลในครอบครัวผู้ตายหรือผู้จัดการศพมีสิทธิเบิกค่าพาหนะเดินทางไปปลงศพ ค่าพาหนะ/ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวกับการส่งศพกลับภายในวงเงินและเงื่อนไข ดังนี้

ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง กรณีผู้เดินทางตาย กรณีเดินทางเพื่อปลงศพ บุคคลในครอบครัวเบิกค่าพาหนะได้ไม่เกิน 3 คน เฉพาะค่าพาหนะไป-กลับเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราตามเส้นทางจากท้องที่ผู้ตายรับราชการไปยังท้องที่ถึงแก่กรรมตามสิทธิของผู้ตาย เว้นแต่ บุคคลในครอบครัวผู้ตายมีสิทธิได้รับค่าเดินทางสูงกว่าสิทธิของผู้ตาย ให้เบิกค่าพาหนะไป-กลับตามสิทธิของผู้นั้น หากผู้ตายไม่มีบุคคลในครอบครัวหรือมอบอำนาจให้คนอื่นเป็นผู้จัดการศพ ให้ผู้จัดการศพเบิกได้เพียงคนเดียว

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 2. กรณีส่งศพกลับ ให้เบิกค่าพาหนะส่งศพกลับได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราค่าพาหนะในเส้นทางจากท้องที่ ถึงแก่ความตาย ไปยังท้องที่ผู้ตายรับราชการ เบิกค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการส่งศพกลับเท่าที่จ่ายจริง

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 4 ข้อ 6 การเดินทางโดยรถไฟให้เบิกค่าพาหนะเดินทางได้ เท่าที่จ่ายจริง ตามประเภทดังนี้

ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 6 ระเบียบฯ เดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ข้อ 6 ประเภท : ระดับ การเดินทางโดยรถไฟ ทั่วไป : ชำนาญงาน ขึ้นไป วิชาการ : ชำนาญการ ขึ้นไป อำนวยการ : ตำแหน่งประเภทบริหาร หรือระดับ 6 ขึ้นไป หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า หรือข้าราชการตุลาการเงินเดือนชั้น 1 ขึ้นไป หรือ ข้าราชการอัยการรับเงินเดือนชั้น 2 ขึ้นไป หรือ ขรก.ทหาร ยศพันโท นาวาโท นาวาอากาศโทขึ้นไป หรือข้าราชการตำรวจ ยศพันตำรวจโทขึ้นไป รถด่วน รถด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอน ปรับอากาศ (บนอ.ป.)

หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. ๒๕๕๓

ผู้มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ชั่วคราวในราชอาณาจักร ข้าราชการ ลูกจ้าง ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณรายจ่าย

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ได้รับอนุมัติเดินทางโดยผู้มีอำนาจ ระยะเวลาตามความจำเป็นและเหมาะสม หากเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับที่ตั้งสำนักงาน เมื่อเสร็จสิ้นราชการ เพราะเหตุส่วนตัว ได้รับอนุมัติลากิจ ลาพักผ่อน และระยะเวลาจากผู้มีอำนาจ มีสิทธิรับค่าเดินทางเมื่อปฏิบัติราชการตามคำสั่งแล้ว

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 3. ข้าราชการได้รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่งระดับสูงขึ้น หลังวันเดินทาง รับค่าเดินทางตามอัตราตำแหน่งระดับที่สูงขึ้น นับแต่วันที่มีคำสั่งแต่งตั้ง แม้มีผลย้อนหลังถึงหรือก่อนวันออกเดินทางก็ตาม

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ รักษาการในตำแหน่งหรือรักษาราชการแทน รับค่าเดินทาง ตามอัตราตำแหน่งระดับชั้นหรือยศ ที่ตนดำรงตำแหน่งอยู่ - เดินทางระหว่างรักษาการและกลับมาดำรงตำแหน่งเดิม เบิกตามอัตรา ตำแหน่งระดับ ชั้นหรือยศ ที่รักษาการ ในตำแหน่งหรือรักษาราชการแทน

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 5. รักษาการในตำแหน่ง หรือ รักษาราชการแทนตำแหน่งระดับชั้นหรือยศ ที่ต่ำกว่า ผู้เดินทางเบิกเงินในอัตราตำแหน่งระดับชั้นหรือยศ ที่ตนดำรงอยู่ 6. ผู้เดินทางหยุดอยู่ที่ใด ไม่มีเหตุอันควรไม่มีสิทธิรับค่าเดินทางสำหรับระยะเวลาที่หยุดนั้น

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะรวมค่าเช่า ค่าเชื้อเพลิง พลังงานสำหรับยานพาหนะค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่น ๆ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น เนื่องในการเดินทาง เช่น ค่าปะยาง ค่าผ่านทางด่วน

เงื่อนไขการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง 1.2.1 เดินทางเรื่องหนึ่งเรื่องใดสถานที่ปฏิบัติราชการแห่งเดียวกัน เบิกได้ไม่เกิน 120 วัน นับแต่วันออกเดินทาง ถ้าเกินต้องให้ผู้มีอำนาจจาก ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดอนุมัติ ส่วนราชการใด ไม่มีปลัดกระทรวง ให้ผู้บังคับบัญชามีอำนาจอนุมัติ เช่นเดียวกับปลัดกระทรวง พิจารณาความจำเป็น และประหยัด

เงื่อนไขการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง 1.2.2 ผู้เดินทางเจ็บป่วยและจำเป็นต้องพัก รักษาพยาบาล เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงไม่เกิน 10 วัน และใบรับรองแพทย์ทางราชการรับรอง กรณีไม่มีแพทย์ทางราชการรับรองอยู่ใน ท้องที่เกิดเจ็บป่วย ต้องชี้แจงประกอบ

การนับเวลาเบิกเบี้ยเลี้ยง ตั้งแต่ออกจากที่อยู่ หรือที่ทำงานปกติ จนกลับถึง ที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน

การนับเวลาเบิกเบี้ยเลี้ยง กรณีลากิจ / พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับ ตั้งแต่ เริ่มปฏิบัติราชการ กรณีลากิจ / พักผ่อน หลังเสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ ให้นับถึง สิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

2. การเบิกค่าเช่าที่พักในประเทศ 2. การเบิกค่าเช่าที่พักในประเทศ ประเภท : ระดับ อัตรา / บาท ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น 1,500 850 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น 2,200 1,200 วิชาการ : ทรงคุณวุฒิ บริหาร : สูง 2,500 1,400

หลักเกณฑ์ค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) 1. ไม่มีพาหนะประจำทาง 2. มีพาหนะประจำทาง แต่มีเหตุผลและความจำเป็นต้องชี้แจงไว้เป็นหลักฐาน 3. ระดับ 6 ขึ้นไป 3.1 ไป-กลับระหว่างที่พัก หรือที่ทำงานกับสถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทาง 3.2 ไป-กลับระหว่างที่พัก กับสถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัด เดียวกัน วันละไม่เกิน 2 เที่ยว (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) 3.3 ไปราชการในเขต กทม. 4. ระดับ 5 ลงมา กรณีมีสัมภาระเดินทาง

ค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด ตามข้อ 3.1 เขตติดต่อจังหวัดระหว่าง กทม. เบิกตามจ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท ข้ามเขตติดต่อจังหวัดอื่น เบิกตามจ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท

เดินทางใช้ยานพาหนะส่วนตัว ประเภทยานพาหนะ อัตราเงินชดเชย หมายเหตุ รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท ใช้พาหนะส่วนตัวไปราชการ เบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะลักษณะเหมาจ่าย ผู้เดินทางเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครอง แล้วแต่กรณีในอัตราต่อ 1 คัน ตามอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนดคำนวณระยะทางเบิกเงินชดเชยตามเส้นทางของกรมทางหลวงในทางสั้นและตรงสามารถเดินทางได้โดยสะดวกและปลอดภัย

เดินทางโดยเครื่องบิน การเดินทาง ผู้เดินทาง (๑) ชั้นธุรกิจ ผู้บริหารระดับต้น /ระดับสูง อำนวยการระดับสูง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ /ระดับทรงคุณวุฒิ ตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ หรือตำแหน่งระดับ ๙ ขึ้นไป หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า (๒) ชั้นประหยัดหรือชั้นต่ำสุด ตำแหน่งอำนวยการระดับต้น ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งประเภททั่วไประดับชำนาญงาน และระดับอาวุโส หรือตำแหน่งระดับ ๖ - ๘ หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า

เดินทางโดยเครื่องบิน การเดินทาง ผู้เดินทาง การเดินทางซึ่งไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม (๑) หรือ (๒) เบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าพาหนะในการเดินทางภาคพื้นดิน ระยะเดียวกันตามสิทธิซึ่งผู้เดินทางจะพึงเบิกได้

ตามหลักเกณฑ์ กค 0406.4/ว.5 ลว. 31 ม.ค. 2554 ผู้เดินทางได้รับอนุมัติก่อน 22 ธ.ค. 2553 เบิกตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 ผู้เดินทางได้รับอนุมัติหลัง 22 ธ.ค. 2553 เบิกตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

ตารางเปรียบเทียบอัตราการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าที่พัก ข้าราชการ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก เดิม ใหม่ ใหม่ (เบิกจ่ายจริง) ใหม่ (เบิกเหมาจ่าย) (บาท : วัน : คน) ระดับ 1-2 180 240 เหมาจ่ายไม่เกิน 1,000 บาท 1,500 850 800 ระดับ 3-5 210 ระดับ 6-8 ระดับ 8 ระดับ 9 270 2,200 1,200 ระดับ 10 ขึ้นไป จ่ายจริงไม่เกิน 2,500 บาท 2,500 1,400

การเบิกจ่ายเงินค่าเดินทาง 1. หนังสืออนุมัติการเดินทางไปราชการ 2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการให้ใช้ตามแบบฟอร์มของ กระทรวงการคลัง รายงานการเดินทาง 3. กรณีเดินทางไปราชการคนเดียวไม่ต้องแนบหลักฐานการจ่ายเงินแบบเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ (ใบขวาง) 4. หลักฐานการจ่ายเงินค่าที่พัก 5. หนังสือขออนุมัติเบิกจ่ายเงินค่าเดินทางไปราชการ