ตารางธาตุ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Advertisements

ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
A blast furnace CO, CO2 Ore (Fe2O3, SiO2, P, Al, Mn), limestone, coke
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
A point is an equilibrium point (critical point) for a
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
สารละลาย(Solution).
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
Introduction to Electrochemistry
Water and Water Activity I
Periodic Table ตารางธาตุ.
เคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ
(Introduction to Soil Science)
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
Lecture ที่ ธาตุแทรนสิชัน (Transition Elements)
(Introduction to Soil Science)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Periodic Atomic Properties of the Elements
ชั่วโมงที่ 6–7 พันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ตารางธาตุ.
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
By Poonyaporn Siripanichpong
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตารางธาตุ

การจัดเรียงของธาตุในตารางธาตุ “การจัดเรียงธาตุทางเคมีเป็นตาราง โดยจัดเรียงธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน” การจัดเรียงของธาตุในตารางธาตุ 1. ธาตุซึ่งเรียงตามลำดับเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นและเป็นแถวตามแนวนอนเรียกว่า คาบ ซึ่งมีทั้งหมด 7 คาบ  2. ธาตุในแถวตามแนวตั้ง มีทั้งหมด 18 แถว เรียกว่า หมู่ ซึ่งมีตัวเลขกำกับ แบ่งออกเป็นหมู่ย่อย A และ B โดยที่หมู่ย่อย A มี 8 หมู่ คือ หมู่ I A จนถึง VIII A มีชื่อเรียกเฉพาะคือ ►หมู่ I A มีชื่อว่า โลหะอัลคาไล ►หมู่ II A มีชื่อว่า โลหะอัลคาไลน์เอิร์ธ ►หมู่ VII A มีชื่อว่า แฮโลเจน ►หมู่ VIII A มีชื่อว่า ก๊าซมีตระกูล (Noble Gas) หรือ ก๊าซเฉื่อย (Inert Gas) ►หมู่ย่อย B มี 8 หมู่ คือ หมู่ I B จนถึง VIII B มีชื่อเรียกว่า ธาตุแทรนซิชัน 3. ส่วนธาตุ 2 แถวล่าง ซึ่งแยกไว้ต่างหากนั้น เรียกว่า ธาตุแทรนซิชันชั้นใน (Inner transition elements) ธาตุแถวบนคือเรียกว่า กลุ่มธาตุแลนทาไนด์ ส่วนแถวล่าง เรียกว่า กลุ่มธาตุแอกทิไนด์

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ จากการเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในระดับพลังงานหลักทำให้ทราบว่า จำนวนระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอนทำให้ทราบว่าธาตุนั้นอยู่คาบใด ถ้าธาตุมีจำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในคาบเดียวกัน จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน หรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงนอกสุด ทำให้ทราบหมู่ของธาตุ ถ้าธาตุมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในหมู่เดียวกัน (เฉพาะหมู่ย่อย A) ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดมีระดับพลังงานต่ำสุด เรียกระดับ K ระดับพลังงานที่อยู่ถัดออกมาเรียก ระดับ L, M, N, O, P, Q ต่อมาได้แสดงเป็นตัวเลขแทนคือที่ n = 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7 ตามลำดับ

หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในระดับพลังงานต่าง ๆ 1. ต้องทราบเลขอะตอมหรือจำนวนอิเล็กตรอนของธาตุ 2. จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลักมีจำนวนไม่เกิน 2n2 แต่ไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 2 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 18 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน 3. จำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยโดยอาศัยรูปแบบโคจรของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเรียกรูปแบบวงโคจรนี้ว่าออร์บิทัล (Orbital) โดย 1 ออร์บิทัลจะมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2 อิเล็กตรอน n=1 มี 1 ระดับพลังงานย่อยคือ s n=2 มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p n=3 มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d n=4 มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d, f s มี 1 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 2 อิเล็กตรอน p มี 3 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 6 อิเล็กตรอน d มี 5 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 10 อิเล็กตรอน f มี 7 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 14 อิเล็กตรอน

แสดงการจัดเรียงของระดับพลังงานหลักและพลังงานย่อยของธาตุ

4.การจัดเรียงอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล 4.1 หลักของ Aufbau Principle มีใจความว่า อิเล็กตรอนจะบรรจุเข้าในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่ำสุดก่อน คือ เรียงลำดับจากพลังงานน้อยไปหามาก 4.2 Pauli's Exclusion Principle กล่าวว่า ในแต่ละออร์บิทัลจะมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2 อนุภาค และอิเล็กตรอนทั้งสองอนุภาคนี้จะต้องหมุนตรงข้ามกัน 4.3 Hund's Rule กล่าวว่า อิเล็กตรอนจะไม่เข้าไปเรียงคู่ในออร์บิทัลของเชลล์ย่อยจนกระทั่งเมื่อทุกออร์บิทัลในเชลล์ย่อยมีอิเล็กตรอนอยู่อย่างน้อยที่สุด 1 อนุภาค “การจัดเรียงอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล แบบบรรจุเต็มและแบบบรรจุครึ่งจะมีเสถียรภาพมากกว่าแบบอื่น ๆ”

ตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแต่ละธาตุ

แสดงที่อยู่ของเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุในตารางธาตุ

ตัวอย่าง 1 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุกำมะถัน (S) และ สทรอนเซียม (Sr) และบอกจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละธาตุ วิธีทำ

ตัวอย่าง 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุโครเมียม (Cr) ควรเป็นอย่างไร พร้อมให้เหตุผล และเขียนการจัดเรียกของธาตุ X ที่มีเลขอะตอม 29 วิธีทำ

จุดเดือด (boiling point; bp) และจุดหลอมเหลว (melting point; mp) “พลังงานที่ใช้แยกอนุภาคของสารออกจากกันขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ” สรุปแนวโน้มสมบัติต่าง ๆ ตามตารางธาตุ

เลขออกซิเดชัน (oxidation number) “เลขออกซิเดชันคือ จำนวนประจุสุทธิบนอะตอมนั้น ๆ” หลักการบอกค่าเลขออกซิเดชัน 1. อะตอมขของธาตุในสภาวะอิสระ มีเลขออกซิเดขันเท่ากับศูนย์เช่น Zn, Ag, H2, Cl2 2. อะตอมเดี่ยวที่เป็นไอออน มีค่าเลขออกซิเดชันเท่ากับจำนวนประจุของไอออนเช่น Al3+ มีเลขออกซิเดชัน +3, Cl- มีเลขออกซิเดชัน -1 3. เลขออกซิเดชันในสารประกอบของโลหะอัลคาไล (Li, Na, K) มีค่า +1 และโลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (Be, Mg, Ca) มีค่า +2 4. O ในสารประกอบเช่น KClO3, H2O มีเลขออกซิเดชัน -2 *สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น Na2O2, H2O2, BaO2 มีเลขออกซิเดชัน -1 ยกเว้น *สารประกอบ OF2 มีเลขออกซิเดชัน +2 5. H ในสารประกอบมีเลขออกซิเดชัน +1 ยกเว้น *LiAlH4 และ NaBH4 มีเลขออกซิเดชัน -1 6. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสูตรเคมี มีค่าเท่ากับประจุของสูตรนั้น ๆ เช่น MnO4- มีค่าผลรวมเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1