การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต Sexual reproduction การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ใช้ gamete (Sex cell) ลูกมี variation, heterosis Asexual reproduction ใช้ somatic cell ลูกมี no variation Sexual reproduction Parthenogenesis Conjugation Fertilization Egg Embryo Isogamete fusion Heterogamete fusion Ex ราเหลือง Paramecium Spirogyra Ex ผึ้งตัวผู้ (drone) มดตัวผู้ Sperm + Egg
Fragmentation = การหักสาย A. Individual cell B. Conjugation รูปที่ 39 แสดงโครงสร้างของเซลล์ไปโรไจรา (A) และการคอนจูเกชันของสไปโรไจรา (B) Fragmentation = การหักสาย
ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์ Asexual reproduction 1. Binary fission การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแตกหน่อ โดยหน่อมีขนาดเล็ก พบในยีสต์ ไฮดรา ฟองน้ำ กล้วย พุทธรักษา 2. Budding 3. Regeneration การออกใหม่ จัดเป็นการสืบพันธุ์ ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์ ถ้ามีจำนวนตัวเพิ่มขึ้น ถ้ามีจำนวนตัวเท่าเดิม
การสร้างสปอร์ 4. Sporulation เป็นเซลล์เดี่ยวๆ ขนาดเล็ก การแพร่กระจายได้ไกล Spore ทนทานสูง เหมาะต่อการแพร่พันธุ์บนบกมากสุด ยกเว้น การสร้างสปอร์ของแบคทีเรีย (endosproe) ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์ เพราะจำนวนไม่มาก 5. Gem mule formation การสร้างหน่อภายใน พบในฟองน้ำ 6. Fragmentation การหักขาดเป็นท่อน ๆ พบในสาหร่ายหลายเซลล์ เช่น Spirogyra
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 4. Growth and Development สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว Growth = Assimilation + Cell expansion Growth สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ Growth = Cell multiplication + Assimilation + Cell expansion Development = Growth + Different ion + Organogenesis and Morphogenesis
5. Ingestion and Excretion การกินอาหารและ การขับถ่าย 5. Ingestion and Excretion Ingestion Digestion Absorption Metabolism Assimilation Excretion Growth Co2 NH3 Urea Uric acid
ไต Contractile vacuole 6. Irritability 7. Homeostasis การธำรงดุล การรับรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้า 7. Homeostasis การธำรงดุล ไต น้ำและแร่ธาตุ PH Control Temperature Control ระดับน้ำตาลในเลือด Contractile vacuole
8. Specific traits ลักษณะเฉพาะ สันหลัง Spirogyra มี Chloroplast คล้ายริบบิ้นสายยาวบิดไปมา (spiral chloroplast) Spore ของหญ้าถอดปล้องมี Elator ฟองน้ำ มี Collar cell เฟิร์น มีใบอ่อนม้วนงอคล้ายลานนาฬิกา กุ้ง กั้ง ปู แมลง มีโคลงร่างแข็งภายนอก (exoskeleton)เป็นสาร chiltin Chordate เช่น เพรียงหัวหอม และสัตว์มีกระดูก สันหลัง Notochord ในระยะเอมบริโอ มีช่องเหงือก (gill slit) ในระยะเอมบริโอ มีเส้นประสาทใหญ่เป็นท่อกลวงอยู่ด้านหลังเหมือนทางเดินอาหาร (dorsal hollow nerve cord)
สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ 9. Organization สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ Atom Molecule Organelle Cell Tissue Population Organism System Organ Community Ecosystem Biome Biosphere
earth and its organisms SUBATOMIC PARTICLES Protons, neutrons, and electrons BIOSPHERE Entire surface of the earth and its organisms ECOSYSTEM Dynamic system of organisms interacting with each other and the inanimate environment ATOMS Smallest unit of a substance that retains the properties of that substance COMMUNITY Populations of organisms living together in the same environment MOLECULES Two or more atoms bonded together ORGANELLES and CYTOPLASM Components from which cells are constructed POPULATION Group of organisms of the same species CELL The smallest unit that is Itself alive MULTICELLULAR ORGANISM Individual composed of many specialized cells Ability to perform simple biological functions Capacity to perform complex biological functions Higher biologi-cal properties, e.g., sight, emotion, intelligence Social order; evolution Species interaction (predation, parasitism, mutualism, etc.) LIFE UNIQUE PHENOMENA THAT EMERGE AS LEVEL OF COMPLEXITY INCREASES
ชีววิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ สรีรวิทยา อนุกรมวิธาน จุลชีววิทยา (Zoology) พฤติกรรมศาสตร์ (Ethology) พฤกษศาสตร์ (Botany) สรีรวิทยา (Physiology) อนุกรมวิธาน (Taxonomy) การตอบสนองต่อสิ่งเร้า สัตว์ พืช การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต การทำงานของอวัยวะ จุลชีววิทยา (Microbiology) กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ โครงสร้าง ปรสิตวิทยา (Parasitology) ปรสิต ชีววิทยา Biology ฮอร์โมน วิทยาเอนโดคริน (Endocrinology) ศึกษารูปร่าง รูปพรรณ- แมลง เซลล์ สันฐานของสิ่งมีชีวิต สัณฐานวิทยา (Morphology) กีฏวิทยา (Entomology) การถ่ายทอดลักษณะ เอ็มบริโอ พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลง จากอดีตสู่ปัจจุบัน สิ่งแวดล้อม พันธุศาสตร์ (Genetics) เซลล์วิทยา (Cytology) วิวัฒนาการ (Bioevolution) คัพภะวิทยา (Embryology) นิเวศวิทยา (Ecology)