ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบข้อมูลและกิจกรรมของโครงการสืบสาน พระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
Advertisements

การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
Adjuvant therapy in breast cancer Dr.Adisai Pattatang Chonburi cancer center.
จัดทำโดย นสภ. มารุตต์ ตรีอินทอง รหัส มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
HOW TO WRITE INTRODUCTION Dr. AREE BUTSORN Ph.D. Public Health (INTERNATIONAL) Public Health Technical Officer KHUKHAN HEALTH OFFICE
สถานการณ์โรคมะเร็ง จังหวัดเชียงใหม่ ปี
เขตบริการสุขภาพที่ ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม.
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
ECT breast & Re-accredited plan
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
Toward National Health Information System
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
Burden of disease measurement
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
EE : โครงการ แม่ข่าย: กลุ่ม: สถาบันหลัก: หัวหน้าโครงการ สถาบันร่วม:
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารแนวความคิดในการวิจัย
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
Click to edit Master title style
วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
สิงหาคม 2558.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
Breast Cancer Surveillance system
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
สร้างเครือข่ายในชุมชน
EE : โครงการ แม่ข่าย: หัวข้อวิจัย: สถาบันหลัก: หัวหน้าโครงการ
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 17 ธ.ค.56 4/24/2019

Conceptual Framework เดิม 3.หา BSE Effectiveness Conceptual Framework เดิม เปรียบเทียบ After Cancer Size Staging Before Cancer Size Staging หญิง 30-70 ปี ในพื้นที่เป้าหมาย 1.88 ล้านคน เป็นมะเร็ง เต้านม 2.หา Incidence 4.หา Risk Factors ? ไม่เป็นมะเร็ง เต้านม 1.Intervention BSE สม่ำเสมอ ครอบคลุม 80% 4/24/2019

Conceptual Framework ใหม่ 3.หา BSE Effectiveness 1.Intervention BSE สม่ำเสมอ ครอบคลุม 80% 2.หา Incidence BSE ไม่สม่ำเสมอ Cancer Size Staging เป็นมะเร็ง เต้านม เปรียบเทียบ หญิง 30-70 ปี ในพื้นที่เป้าหมาย 1.88 ล้านคน BSE สม่ำเสมอ Cancer Size Staging 4.หา Risk Factors ? ไม่เป็นมะเร็ง เต้านม 4/24/2019

ฐานข้อมูลของโครงการสืบสาน Popdata_register เก็บข้อมูลหญิง 30-70 ปี ที่ไม่ได้เป็นมะเร็งเต้านม และสามารถติดตามได้ ในพื้นที่ดำเนินโครงการ 1.88 ล้านคน (ต่อไปจะเรียกว่า Cohort) Popdata_exam เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ BSE ในพื้นที่ รายไตรมาส เก็บทั้งใน cohort และนอก Cohort ที่พื้นที่ดูแล (มะเร็งเต้านมรายเก่า หญิงนอกช่วง 30-70 ปี) Breast เก็บข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ (1 ม.ค.56 อนุโลมในส่วนพื้นที่ที่เริ่มโครงการ 1 ต.ค.55) 4/24/2019

ภาพรวมการ BSE สม่ำเสมอนับจากเลข 13 หลัก Cohort 1.88 ล้านคน ส่งข้อมูล BSE อย่างน้อย 1 ครั้งใน 4 ไตรมาส 1.6 ล้านคน (85%) BSE สม่ำเสมอ (แจงนับ เลข 13 หลักอย่างน้อย 2 ครั้ง ใน 4 ไตรมาก 0.68 ล้านคน (36%) 4/24/2019

มะเร็งเต้านม ประเทศไทยมีมะเร็งเต้านมรายใหม่ 13,000 ราย เมื่อหารด้วยประชากร 65 ล้าน หรือเท่ากับ 20 ต่อแสนประชากร หญิงอายุ 30-70 ปี มีจำนวน เท่ากับ 1 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด กลุ่มนี้เสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม 3 เท่า หรือเท่ากับ 60 ต่อแสนของหญิงอายุ 30-70 ปี หญิงอายุ 30-70 ปีที่ร่วมโครงการเท่ากับ 1.88 ล้านคน น่าจะเกิดมะเร็งเต้านมรายใหม่เท่ากับ 60 x 18.8 = 1128 คน แต่จากเก็บข้อมูล พบมะเร็งรายใหม่ 168 ราย คิดเป็น 15% ของค่าประมาณการ 4/24/2019

สรุป ในส่วนของบันทึกข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ศูนย์เขต จะทำหน้าที่นิเทศจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ โครงการจะนิเทศพื้นที่ให้ประสานศูนย์เขตไปร่วมด้วย จังหวัดควรกำหนดว่าใครคือผู้รับผิดชอบรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ของจังหวัด โดยทางศูนย์เขตที่รับผิดชอบจะขอรายชื่อผู้รับผิดชอบ จะได้ทำการนิเทศติดตามได้ ผู้รับผิดชอบตามข้อ 1 ให้ชี้แจงผู้ที่เก็บแบบฟอร์ม เพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลได้ถูกต้อง และต้องกำหนดระบบว่าข้อมูลที่บันทึกในแบบฟอร์มแล้วจะให้ใครเป็น Center ในการ Key ข้อมูลมะเร็งเต้านมรายใหม่ผ่าน Web 4/24/2019

สรุป ต่อ พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมให้บันทึกในแบบฟอร์มก่อน แล้วตรวจสอบความถูกต้องทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของข้อมูล ด้านปริมาณให้ดูว่าจำนวนผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ ประมาณ 60 ต่อ แสน /หญิง 30-70 ปี ด้านคุณภาพ โดยข้อมูลที่ขาดไม่ได้คือ วันที่เริ่มวินิจฉัยมะเร็งเต้านม /Diag /ขนาดก้อน / Staging BSE สม่ำเสมอหรือไม่ ให้ดูจากสมุดบันทึก BSE ถ้าบันทึก 10 ใน 12 เดือน ในแต่ละปีถือว่าสม่ำเสมอ (ข้อมูล exam เพื่อใช้ในการกำกับติดตาม แต่ไม่ได้เป็นตัวตัดสินสุดท้ายว่า BSE สม่ำเสมอหรือไม่) ส่งแบบฟอร์มที่ผ่านการตรวจสอบแล้วไปให้ Center เพื่อให้ Center ทำการบันทึกข้อมูลผ่าน Web (แทนแต่ละ รพ.ทำการบันทึกเอง เพราะ clean ข้อมูลยาก) 4/24/2019

ปัญหา อยู่พังงา แต่คนไข้ไปรักษาที่ รามาฯ รู้ว่าเป็นมะเร็งเต้านม แต่ไม่ทราบ Staging จังหวัดทำหนังสือขอความอนุเคราะห์ข้อมูลจาก ร.พ.ที่ให้การรักษา และ Cc มาที่โครงการเพื่อติดตาม คนไข้ไปรักษาที่อื่น ทำให้เราไม่ทราบข้อมูล เช่น กำแพงเพชร ไปรักษาที่ ลพบุรี หรือ ลำปาง หรือไปรักษาที่ กทม. ทำให้ตกสำรวจ โครงการสามารถประสาน รพ.ที่ให้การรักษาได้หรือไม่ 4/24/2019