State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
State Table ตารางสถานะ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Pushdown Automata : PDA
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
IP-Addressing and Subneting
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
IP-Addressing and Subneting
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
การบริหารโครงการ Project Management
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
BC320 Introduction to Computer Programming
Multistage Cluster Sampling
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
เงื่อนไขการสร้างเอกสารเลือกวันหยุด
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562 ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของวงจร Sequential โดยแสดงว่า PS : Present State เมื่อที่ได้รับ Input มาแล้ว ก็เตรียมไปสถานะถัดไป NS : Next State แล้วจะไปไหนต่อ และ Output เป็นเท่าใด ซึ่งมีวิธีเขียน 2 แบบคือ แบบของ Mealy และ แบบของ Moore ปรับปรุง 30 มีนาคม 2560 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 54 http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/t-diag.htm

ตาราง 2 แบบ Mealy Model PS NS/Z X=0 X=1 A B/1 C/0 B B/0 A/1 C A/0 Moore Model PS NS Output X=0 X=1 Z A C B 1 ปัจจุบันอยู่ C ถ้ารับ X=0 ถัดไปจะไป A และ Output=0 เมื่ออยู่ A แล้วรับ X=1 ถัดไปจะไป C และ Output=0 ปัจจุบันอยู่ C ถ้ารับ X=1 ถัดไปจะไป A และ Output=0 เมื่ออยู่ A แล้วรับ X=1 ถัดไปจะไป B และ Output=0

ตัวอย่าง State Table แบบ Mealy Model PS NS/Z X=0 X=1 A B/1 C/0 B B/0 A/1 C A/0 PS NS/Z X=0 X=1 A D/0 B/0 B C/0 C D C/1

ตัวอย่าง State Diagram 0/0 1/1 0/1 1/0 A/0 1 0/0 B C 1/0 1 B/1 C/0 State Diagram #1 Mealy Model ค่า Output จะมีสองค่า ขึ้นกับค่า Input 1 State Diagram #2 Moore Model ค่า Output จะมีค่าเดียว ไม่ขึ้นกับค่า Input

ตัวอย่าง State Table & State Diagram แบบ Mealy Model 0/0 (ก) State Table 1/1 0/1 PS NS/Z X=0 X=1 A B/1 C/0 B B/0 A/1 C A/0 1/0 0/0 B C 1/0 (ข) State Diagram (ค) แสดง Output Sequence หาก Input Sequence = 0, 0, 1, 1, 0, 1, 1, 0, 0 http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_kmutt.pdf Input X 1 Present State PS A B C Next State NS Output Sequence Z

ตัวอย่าง State Table & State Diagram แบบ Moore Model 1 (ก) State Table 1 PS NS Output X=0 X=1 Z A C B 1 B/1 C/0 1 (ข) State Diagram (ค) แสดง Output Sequence หาก Input Sequence = 1, 0, 1, 1, 0, 0, 0, 1, 1 http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_kmutt.pdf Input X 1 Present State PS B C A Next State NS Output sequence Z

แบบฝึกหัด State Table & State Diagram แบบ Mealy Model 1/0 0/0 PS NS/Z X=0 X=1 A D/0 B/0 B C/0 C D C/1 B 0/0 D 1/0 0/0 1/1 0/0 C 1/0 (ข) State Diagram (ค) แสดง Output Sequence หาก Input Sequence = 0, 1, 0, 1, 0, 1 Input X 1 Present State PS A D C B Next State NS Output Sequence Z

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) a พิมพ์เล็ก จะได้รู้ว่าเป็น PS A พิมพ์ใหญ่ จะได้รู้ว่าเป็น NS ปัจจุบันอยู่ c ถ้ารับ X=0 ถัดไปจะไป C และ Output=0 เมื่ออยู่ c แล้วรับ X=1 ถัดไปจะไป A และ Output=0 http://narong.ee.engr.tu.ac.th/digital/document/07-Seq.pdf http://eda.ee.nctu.edu.tw/courses/logic_design/Logic%20Design%20(15).pdf https://www.youtube.com/watch?v=T9Z66NF5YRk&nohtml5=False ปัจจุบันอยู่ b ถ้ารับ X=0 ถัดไปจะไป A และ Output=1 เมื่ออยู่ a แล้วรับ X=1 ถัดไปจะไป D และ Output=0

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [1] การลดทอนสภาวะ ก็เหมือนการลดทอดฟังก์ชันบูลีน คือ ลดความซับซ้อนของวงจร เมื่อสภาวะลดลง จำนวนวงจรก็จะลดลง การลดวงจรจะทำได้ต่อเมื่อมีสถานะทัดเทียมกัน (equivalent state) (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย (ก) State Table เริ่มต้นด้วยการเขียน ตารางอิมพลิเคชั่น แนวนอนจาก a ไปถึงรองสุดท้าย แนวตั้งเขียนจาก b ไปถึงตัวสุดท้าย ตารางนี้ ก็จะแสดงการจับคู่สภาวะ ได้ครบทุกคู่ http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [2] กากบาท x ลงบนคู่สภาวะที่ output ไม่เท่ากัน จึงเลือกกากบาท x ในแถวที่ไม่มีคู่ (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย (ก) State Table ดูจาก Next state a มี 1 คู่ b มี 1 คู่ c มี 1 คู่ d มี ไม่ครบคู่ e มี 3 ตัวหรือคู่ครึ่ง แถว d ไม่ครบคู่จึง x หมดทั้งแถว แถว e ไม่มีคู่กับ a และ d http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [3] จับคู่สภาวะ เมื่อพบคู่ที่มี NS เหมือนกัน นั่นคือสภาวะ a และสภาวะ b ผลการจับคู่จึงได้การลดทอนเป็น AE (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย (ก) State Table AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X พบว่า PS – a และ b หรือคู่สภาวะ ab นั่นเอง มี NS เหมือนกันคือ c/1 และ a/0 กับ e/0 ไม่ซ้ำกัน จึงเติม AE ลงในช่อง ab X X X ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [4] จับคู่สภาวะ สภาวะ a และสภาวะ c เมื่อพบคู่ที่มี NS ต่างกัน ช่อง x=0 คือ C กับ B หรือ BC เมื่อพบคู่ที่มี NS ต่างกัน ช่อง x=1 คือ A กับ E หรือ AE จึงเติม BC และ AE ลงช่อง ac (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย (ก) State Table พบว่า PS – a และ c หรือคู่สภาวะ ac นั่นเอง มี NS ต่างกันคือ c/1 และ b/1 กับ a/0 และ e/0 จึงเติม BC และ AE ลงในช่อง ac AE BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [5] จับคู่สภาวะ สภาวะ b และสภาวะ c เมื่อพบคู่ที่มี PS และ NS เหมือนกัน คือ PS = bc และ NS = CB พิจารณาช่องที่ x=1 พบว่า E เหมือนกัน จึงเติม ไม่เติมอะไรในช่อง bc เพราะตัดทอนได้เลย (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย ช่องสภาวะ bc ตัดทอนได้เลย เพราะ ps และ ns เหมือนกันคือ bc และ CB และ next stat ของทั้ง 2 สภาวะ คือ e ซึ่งเหมือนกัน AE BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [6] จับคู่สภาวะ สภาวะ d และสภาวะ e เมื่อพบคู่ที่มี PS และ NS เหมือนกัน คือ PS = de และ NS = DE พิจารณาช่องที่ x=1 พบว่า B/1 กับ A/1 ไม่ซ้ำกัน จึงเติม AB ในช่อง de (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย จับคู่สภาวะ เติม AB ในช่อง de AE BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X AB ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [7] ถ้า PS คู่ใดถูกกากบาททับไปแล้ว เมื่อเป็น NS ก็ย่อมไม่ทัดเทียม ขีด / ทับได้เลย เช่น AE ใน ns เมื่อดู ae พบว่าไม่ทัดเทียมมาก่อน คือไม่มีคู่สภาวะ (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย เมื่อ ae ไม่มีคู่สภาวะ ทำให้ AE ในช่อง ab ไม่ทัดเทียม คือ ไม่เป็น equivalent state จึงขีด / ทับ / AE BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X AB ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [7] พิจารณาคู่ที่เหลือ คือ AE, BC และ AB (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย ไม่มีคู่สภาวะที่เท่าเทียมกัน / AE / BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X / AB ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) [8] ยกเว้น state สุดท้ายคือ e ไม่ต้องเขียน พิจารณาจากขวาไปซ้าย หากมีคู่ไหนไม่ถูกกากบาท ให้นำมาเขียนทางขวาของตาราง (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย / AE / BC AE http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm X X X X X X / AB นำมาสรุปสภาวะผลลัพธ์ จะได้ A, BC, D, E จากเดิมที่มี 5 สภาวะก็เหลือ 4 ตัวตั้ง

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (1/6) ถ้ามีสภาวะที่ ทัดเทียมกันหลายสภาวะ สามารถ ตัดสภาวะที่ทัดเทียมกัน ให้เหลือสภาวะเดียว (ก) State Table (ข) Implication Table ตารางให้ความหมาย (ค) กากบาทช่องที่ไม่มีคู่สภาวะ http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm ที่กากบาทคือไม่มีคู่สภาวะ หรือที่เป็น Final State

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (2/6) 1/0 State Diagram Mealy Model 0/0 A (ก) State Table D 0/1 1/1 0/1 1/1 B C 0/1 1/0 1/0 E http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm 0/0

ตัวอย่างการพิจารณาตัดคู่สภาวะจาก Final State State Diagram นี้มี B กับ E เป็น Final State https://www.youtube.com/watch?v=diBpF3UCjqQ

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (3/6) (ก) State Table (ง) เติมคู่ http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (4/6) (จ) ตรวจความทัดเทียม (ฉ) Equivalent Partition AE ไม่ทัดเทียมกับ AE , BC จึงแยกคู่ AE ออกจากกัน เวลาเลือกต้องเลือกจากแนวทั้งที่เป็นตัวแทน http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (5/6) (ก) State Table (ข) Implication Table (ค) กากบาทช่องที่ไม่มีคู่สภาวะ (ง) เติมคู่ (จ) ตรวจความทัดเทียม (ฉ) Equivalent Partition http://www.thaiall.com/digitallogic/sequential_logic_ch07.pdf http://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/st-red.htm AE ไม่ทัดเทียมกับ AE , BC จึงแยกคู่ AE ออกจากกัน เวลาเลือกต้องเลือกจากแนวทั้งที่เป็นตัวแทน

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (6/6) State Diagram Mealy Model A D BC E

ตารางให้ฝึกทำ State Reduction (ก) State Table (ข) Implication Table (ค) กากบาทช่องที่ไม่มีคู่สภาวะ (ง) เติมคู่ (จ) ตรวจความทัดเทียม (ฉ) Equivalent Partition

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (1/4) ที่กากบาทคือไม่มีคู่สภาวะ หรือที่เป็น Final State พบว่ามี Note เยอะมาก D=>A แล้ว A=>D ได้ BE

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (2/4)

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (3/4) ในแถว G ไป H เป็น Final State จึงได้มาทั้ง CH และ BG

การลดทอนสภาวะ (State Reduction) (4/4) ในแถว G ไป H เป็น Final State จึงได้มาทั้ง CH และ BG

ตารางให้ฝึกทำ State Reduction