ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) ……..
Advertisements

การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
PHP LANGUAGE.
ASP [#12] ตัวอย่าง VBScript เพื่อใช้ตรวจสอบค่าบนฟอร์ม
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Active Server Pages (ASP)
– Web Programming and Web Database
Php เงื่อนไข และ การวนซ้ำ Professional Home Page :PHP
Introduction to php Professional Home Page :PHP
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
PHP.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
บทที่ 5 ฟังก์ชันของ PHP การประกาศฟังก์ชัน { Statement; }
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
Algorithm มหาวิทยาลัยเนชั่น Java Pre-Test 49 (Series 1, 2 )
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 echo และ print มหาวิทยาลัยโยนก จังหวัด.
PHP Personal Home Page PHP Lesson in Update : August 23,2012.
1. 2 บรรยายโดยผู้สอนและใช้เอกสาร ประกอบการสอนของผู้สอน สอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ผ่านเครื่อง ฉาย อภิปรายในชั้นเรียนร่วมกัน ให้นิสิตค้นคว้าเพิ่มเติมจากตำราและ.
HTML, PHP.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
MS.Pantharee Sawasdimongkol
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
ฟังก์ชัน.
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
CHAPTER 12 FORM.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
บทที่ 2 Introductio n to PHP. Intorduction to PHP2 -PHP -> Open Source - ไฟล์นามสกุล PHP สร้างจาก โปรแกรม -Macromedia Dreamweaver -FrontPage -NotePad.
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
PHP เบื้องต้น.
Form.
PHP: [5] คำสั่งควบคุม (Control statement)
CHAPTER 1 INTRODUCTION TO JAVA WEB PROGRAMMING Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of.
Cascading Style Sheet (CSS). CSS การใช้งาน CSS Class และ ID Pseudo Class.
PHP.
การพัฒนาห้องสมุด ด้วยเทคโนโลยี. ระบบสืบค้นสารสนเทศภายใน(OPAC)
CD ข้อมูล แผ่น ชื่อ File
4 Array ● array types ● foreach loop ● Use arrays with Web forms
Chapter 8 WWW.
Chapter 9 WWW (2).
นำเสนอ “นวัตกรรมดีเด่น” และ
Microsoft Excel เบื้องต้น
HTML (Hypertext Markup Language).
และการใช้เครื่องมือในการสร้างเว็บเพจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา Web Technology
Control Statements.
Bc312 การพัฒนาโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
Advance Excel.
PHP (2) - condition - loop
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
Work Shop 1.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 ภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับการผลิตระบบการสอนบนเครือข่าย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
Basic PHP หมายเหตุ แต่ละคำสั่งในภาษา PHP จะจบท้ายคำสั่งด้วย semicolon (;) คำสั่งหรือฟังก์ชันในภาษา PHP นั้นจะเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็กหรือใหญ่ก็ได้ การกำหนดและใช้ตัวแปร.
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
Microsoft Excel.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP http://www.ssru.ac.th

การประกาศใช้ PHP การที่ตัวแปลคำสั่ง PHP จะทราบว่าส่วนใดจะเป็นส่วนที่จะให้ทำงานในลักษณะของ PHP นั้น ก็จะต้องมีการระบุวงเล็บคำสั่งของ PHP ก่อน วงเล็บสำหรับ PHP สามารถใช้งานได้ หลายรูปแบบคือ <?php ?> <? ?> เป็นการใช้วงเล็บแบบสั้น แต่อาจจะมีการซ้ำซ้อนกัน ถ้าหากต้องการใช้ XML ร่วมด้วย เพราะวงเล็บแบบนี้เป็นการใช้ของ XML เช่นกัน <% %> เป็นรูปแบบวงเล็บของภาษา ASP ของ Microsoft <SCRIPT LANGUAGE=”PHP”> </SCRIPT> ใช้ในลักษณะของ Script เหมือนกับ Java Script http://www.ssru.ac.th

หลักการเขียนโปรแกรม php พื้นฐานเหมือนกับภาษา C ใช้พื้นที่ว่างได้ โดยการเว้นบรรทัดในขณะที่ยังเขียนคำสั่งต่างๆ ไม่จบ ประโยคสามารถทำได้ Case-Sensitive บางกรณี คือ ตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความแตกต่างกันในการ อ้างอิงตัวแปร แต่ถ้าเป็นการใช้คำสั่ง เช่น if ก็จะเหมือนกับ IF หรือ function อย่างเช่น empty() อาจจะเขียนเป็น Empty() ก็ได้ ปิดคำสั่งทุกประโยคด้วย ; http://www.ssru.ac.th

การเขียนให้ข้อมูลแสดงออกหน้าจอ ใช้คำสั่ง echo print เช่น echo “สุพัตรา กาญจโนภาส”; หรือ print “สุพัตรา กาญจโนภาส”; http://www.ssru.ac.th

การเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปร . (จุด) , (ลุกน้ำ) เช่น echo “สุพัตรา ”. “กาญจโนภาส”; หรือ echo “สุพัตรา ”, “กาญจโนภาส”; คำตอบ สุพัตรา กาญจโนภาส http://www.ssru.ac.th

การ comment โน้ตไว้ดูเองจะไม่แสดงผลออกหน้าจอ - ในกรณีบรรทัดเดียว // ข้อความ เช่น //คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ ในกรณีหลายบรรทัด /* คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดง ผลลัพธ์ออกหน้าจอ */ /*ข้อความบรรทัด1 ข้อความบรรทัด2 ข้อความบรรทัด3 */ http://www.ssru.ac.th

การขึ้นบรรทัดใหม่ “<br>” (Tag br ) เช่น echo “สุพัตรา<br>กาญจโนภาส”; echo “สุพัตรา”,“<br>”.“กาญจโนภาส”; Echo “สุพัตรา<br>”; Echo “กาญจโนภาส”’ คำตอบ สุพัตรา กาญจโนภาส http://www.ssru.ac.th

การกำหนดรูปแบบตัวอักษร <font>……..</font> (Tag font) เช่น echo “<font color=‘red’ size=20 face=‘JasmineUPC’>สุพัตรา</font>”; สี ขนาด แบบ คำตอบ สุพัตรา http://www.ssru.ac.th

การกำหนดรูปแบบตัวอักษร ตัวหนา <b>………….</b> ตัวเอียง <i>…………..</i> ตัวขีดเส้นใต้ <u>………….</u> เช่น echo “<b><i><u>สุพัตรา</u></i></b>”; คำตอบ สุพัตรา http://www.ssru.ac.th

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้คำสั่ง php เขียนข้อความออกมาดังต่อไปนี้ ชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา สาขาวิชา ภาควิชา ที่อยู่ เบอร์โทร หมายเหตุ (กำหนดรูปแบบและสีสันตามต้องการ) http://www.ssru.ac.th