ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system)
Advertisements

เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
Basic principle in neuroanatomy
ระบบเทคโนโลยี Technology System
ระบบประสาท (Nervous System)
สมองและพฤติกรรม Brain and Behavior
Physiology of therapeutic heat
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
Biological Concepts and Theories for Psychiatric Nursing
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถอธิบาย
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
Lymphatic drainage of the head and neck
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
องค์ประกอบของร่างกาย
อาจารย์ ทรงศักดิ์ สุริโยธิน
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
ANXIETY DISORDER & MOOD DISORDER
Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
การฝากครรภ์คุณภาพ ตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก 2559
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสตร์ทางจิตวิทยา
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
โครงสร้างและการทำงานของระบบประสาท สมอง และเส้นประสาทสมอง
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities.
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
Animal Health Science ( )
อาณาจักรสัตว์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
ครูปฏิการ นาครอด.
จัดทำโดย อาจารย์วิษณุ สมัญญา
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
บทที่ 7 พฤติกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
ความต้องการและแรงจูงใจ
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)

ระบบประสาท (Nervous System)

ระบบประสาทของสัตว์ - โพรทิสต์ ฟองน้ำ ไม่มีระบบประสาท พารามีเซียม มีเส้นใยประสานงาน - ไฮดรา เริ่มมีระบบประสาทแบบร่างแห (nerve net) - ตั้งแต่หนอนตัวแบนไป เริ่มมีสมอง และเส้นประสาทใหญ่แบบ - พลานาเรีย มีระบบประสาทแบบขั้นบันได (ladder type) มีวงแหวนประสาท (nerve ring) เป็นขั้นบันได - หนอนตัวกลม กุ้ง หอย แมลง เริ่มมีปมประสาท และสมองใหญ่ขึ้น

ระบบประสาทของมนุษย์

ระบบประสาทใต้อำนาจจิตใจ นอกอำนาจจิตใจ (อัตโนวัติ) โครงสร้าง การทำงาน ระบบประสาทใต้อำนาจจิตใจ ระบบประสาท นอกอำนาจจิตใจ (อัตโนวัติ) ระบบประสาท ส่วนกลาง ระบบประสาท ส่วนปลาย สมอง เส้นประสาท ใต้อำนาจจิตใจ ไขสันหลัง เส้นประสาท นอกอำนาจจิตใจ (อัตโนวัติ)

ระบบประสาท เซลล์ประสาททำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าทาง dendrite ผ่านตัวเซลล์ (cell body) ออกไปทาง axon แล้วส่งต่อไปให้เซลล์ถัดไปทาง dendrite ของอีกเซลล์ เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่ได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 2. เซลล์ประสาทประสานงาน 3. เซลล์ประสาทสั่งการ

การทำงานของระบบประสาท 1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า: PNS 2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล: CNS 3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก: PNS

พัฒนาการของสมองส่วนต่างๆ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) - สมองส่วนหน้าจะมีพัฒนาการมากขึ้น เมื่อสัตว์มีวิวัฒนาการสูงขึ้น - สมองส่วนกลางจะมีขนาดเล็กลง เมื่อสัตว์มีวิวัฒนาการสูงขึ้น - สมองส่วนท้ายจะพัฒนาดีในสัตว์ที่เคลื่อนที่ 3มิติ เช่น พวกปลา พวกนก รวมทั้งใน มนุษย์ซึ่งสามารถใช้มือได้อย่างประณีต ละเอียดอ่อน

หน้าที่ของสมองส่วนต่างๆ Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) Cerebrum: ศูนย์กลางการเรียนรู้ การรับรู้ การพูดการคิดวิเคราะห์ ความคิดความจำ Thalamus: ศูนย์รับรู้และการตอบสนองต่อความเจ็บปวด Hypothalamus: ศูนย์กลางควบคุมความต้องการต่างๆของร่างกาย (Want, Need) Cerebellum: การเคลื่อนไหวของร่างกาย Pons: ควบคุมการหายใจ การเคี้ยว ฯลฯ Medulla oblongata: ศูนย์ควบคุม ANS การหายใจ การเต้นของหัวใจ การไอ การจาม ในคนเจริญน้อย อาจะเรียกว่า Optic lobe เกี่ยวข้องกับ reflex ของตาและการได้ยินเท่านั้น

ข้อควรทราบพิเศษเรื่องสมอง Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) ก้านสมอง คือ ส่วนของสมองส่วนกลาง + พอนส์ + เมดัลลาออบลองกาตา เจ้าชายนิทรา คือบุคคลที่สมองส่วน Cerebrum ได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงจนไม่สามารถรับรู้และตอบสนองได้ บุคคลที่ป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง เนื่องจาก Cerebrum ถูกทำลายให้เสื่อมสภาพไปมาก จึงทำให้ประสิทธิภาพในการรับรู้และการตอบสนองด้อยลง