แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP) ฉัตติญา พรหมปองสุข นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สสก.๕ จ.สงขลา
แผนการผลิตของใคร??? แผนของคุณ แผนการผลิตของใคร??? แผนของคุณ
IFPP คืออะไร เป็นแผนธุรกิจเกษตรอย่างง่ายที่จะเป็นการบ่งบอกถึงขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรมการเกษตรของตนเองทั้งหมด & จะผลิตพืช/สินค้าชนิดไหน & มีกระบวนการขั้นตอนปฎิบัติอย่างไร & ใช้ปัจจัยอะไรบ้าง จำนวนเท่าไร & ผลผลิตจะออกมามากน้อยแค่ไหน & ใช้งบประมาณ/คน เท่าไร & ตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย & การจัดการความเสี่ยงที่ไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า
ทำไมต้องทำ ?? แผนการผลิตรายบุคคล อดีต เกษตรกรผลิตสินค้าเพียงอย่างเดียว ขาดการวิเคราะห์ วางแผน ด้านความต้องการของตลาดและผู้บริโภค คู่แข่ง และคู่ค้า เกิดภาวะสินค้าเกษตรล้นตลาด การกระจุกตัว ของสินค้า ทำให้ราคาสินค้าตกต่ำ
ทำไมต้องทำ ?? แผนการผลิตรายบุคคล ปัจจุบัน กระทรวงมีนโยบายส่งเสริมและผลักดันให้เกษตรกรเป็น Smart Farmer พร้อมเข้าสู่ผู้ประกอบการด้านการเกษตร วิเคราะห์ตนเองได้ กำหนดแผนการผลิต/แผนธุรกิจของตนเอง พัฒนาสู่ระบบกลุ่มการผลิตที่มีแผนสนับสนุนซึ่งกันและกัน ทำการผลิตทางการเกษตรในลักษณะ Smart agricuture เกิดความยั่งยืนและอยู่ดีมีสุขได้อย่างแท้จริง
สิ่งที่ต้องรู้สำหรับการทำ IFPP มี ๔ ข้อ @ รู้ตนเอง คือ รู้ว่าเรามีอะไร ถนัดเรื่องไร มีจุดแข็ง จุดอ่อนเรื่องใด @ รู้คู่แข่ง คือ รู้ว่าใครที่ทำธุรกิจเดียวกับเรา ปริมาณ คุณภาพ ผลผลิตเป็นอย่างไร ราคาเท่าไร @ รู้คู่ค้า คือ รู้ว่าเรามีเครือข่ายใดที่จะสนับสนุนธุรกิจได้ @ รู้สภาพแวดล้อม คือ รู้ว่าสถานการณ์ตลาด ความต้องการของลูกค้า สภาพพื้นที่สิ่งแวดล้อม
ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ????? ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ????? ศักยภาพของคน คนคือ ตัวเกษตรกรเอง กลุ่ม องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ความรู้ ทุน แรงงาน เป้าหมายการทำธุรกิจความรู้ ความถนัด
ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ?????(ต่อ) ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ?????(ต่อ) ศักยภาพของตัวพืชหรือสินค้า คุณภาพ คุณสมบัติของตัวสินค้า ความสามารถในการแข่งขัน ในตลาด ความแตกต่างของสินค้า ลูกค้าคือใคร แผนการขาย ประมาณการยอดขาย ต้นทุน ประเภทธุรกิจ
ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ?????(ต่อ) ก่อนลงมือ...ต้องรู้/วิเคราะห์ อะไรบ้าง ?????(ต่อ) ศักยภาพของพื้นที่และสิ่งแวดล้อม ทำเลที่ตั้งแปลง สาธารณูปโภค กฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้อง ชุมชนใกล้เคียง การแก้ไขปัญหาการขอความช่วยเหลือ
เราจะนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างไร ๑. การวิเคราะห์เพื่อทำแผนด้านการผลิต : การเลือก รูปแบบและกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสม ขนาด การผลิตหรือกำลังการผลิต การกำหนดทำเลที่ตั้ง การจัดหาปัจจัยการผลิต การจัดการของเสียจาก กระบวนการผลิต ๒. การวิเคราะห์เพื่อทำแผนด้านการตลาด : ข้อมูลโครงสร้างด้านการตลาด ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาด ( 4P) กลุ่มลูกค้า ส่วนแบ่งทางการตลาด
เราจะนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างไร ๓. การวิเคราะห์เพื่อทำแผนด้านการจัดการและ การดำเนินงาน : แสดงถึงความสัมพันธ์ของงาน ต่างๆและสายการบังคับบัญชา การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ การจัดคนให้ตรงกับงาน ๔. การวิเคราะห์เพื่อทำแผนด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม : ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
เราจะนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างไร ๕. การวิเคราะห์ด้านการเงิน : การประมาณการ ลงทุน การคาดคะเนรายได้ รายจ่าย การจัดทำ งบประมาณต่างๆ ๖. การวิเคราะห์โครงการทางธุรกิจการเกษตร (แผนฉุกเฉิน) :คือการวางแผนสำรองไว้รองรับ ยามฉุกเฉิน
แผนผังขั้นตอนการจัดทำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan-IFPP) วิเคราะห์สถานการณ์ (คน- ตัวพืช/สินค้า-พื้นที่/สิ่งแวดล้อม) ปัจจัยภายใน เป้าหมายการทำธุรกิจการเกษตรของเราคืออะไร ปัจจัยภายนอก ใครเป็นคู่แข่งของเรา วิเคราะห์กิจการของตนเอง กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของกิจการ จัดทำแผน การผลิต การตลาด การจัดการและดำเนินงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม การเงิน แผนฉุกเฉิน แผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan-IFPP)