MG414 Supply Chain and Logistics Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Key Drivers Huge Volume of Transportation Plants & Warehouse Customers
Advertisements

Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรม
Regional Value Chain: กลยุทธ์ โอกาส ประสบการณ์ และข้อควรระวัง
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
Mini Factory Lamphun. CONTENTS Vision Mission Curriculum Ultimate Goal Process & Machines SMT.
Logistics and Supply Chain Management. การจัดการโลจิสติกส์ กระบวนการจัดการ การเคลื่อนย้าย และจัดเก็บจากผู้ขายวัตถุดิบไปยัง ผู้บริโภคสุดท้าย การวางแผนการปฏิบัติงาน.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Management system at Dell
บทที่ 5 Logistics Controlling for Cost Reducing and Profit Increasing
The supply chain management system at
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
Lecture บทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า และการกระจายสินค้า
Human resources management
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
E. I. SQUARE. All rights reserved
13 October 2007
การบริหารคลังสินค้า.
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
บทบาทของการบัญชีต้นทุนในการบริหารธุรกิจ
โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนงานครอบครัวอบอุ่น
GROUP ‘2’ slide to unlock.
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
ขั้นตอนการร้องเรียน.
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
สิทธิรับรู้ของประชาชน
บทที่ 10 การบริหารระบบเครือข่าย
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
Logistic Roles for Agro-industry
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
การผลิตและการจัดการการผลิต
อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การควบคุม (Controlling)
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
Inventory Control Models
บทที่ 1 ผลิตภัณฑ์บริการ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
Warehouse Management Systems
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MG414 Supply Chain and Logistics Management Chapter 7 การขนส่ง Ex.

(Distribution Management) กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ ศูนย์กระจายสินค้า โรงงาน การวางแผน เครือข่าย การกำจัดของเสีย ควบคุมคุณภาพ การส่ง สินค้าคืน บรรจุภัณฑ์ ศูนย์ กระจาย สินค้า การให้ บริการ ลูกค้า พยากรณ์ ความ ต้องการ เคลื่อน ย้าย คลังสินค้า สำเร็จรูป คลังสินค้า วัตถุดิบ เคลื่อน ย้าย ผลิต การขนส่ง ขาออก จัดซื้อ การขนส่ง ขาเข้า ตารางกำหนด การผลิต สนับสนุน อะไหล่ การเลือกทำเล ที่ตั้ง วางแผน การผลิต ผู้ขายวัตถุดิบ ดำเนิน คำสั่งซื้อ จากลูกต้า ลูกค้า จัดส่ง (Deliver) จัดซื้อ จัดจ้าง (Source) การผลิต (Make) การกระจายสินค้า (Distribution Management) การจัดการวัสดุ(Material Management) การจัดการโลจิสติกส์ การไหลของวัสดุ(Physical Flow) การจัดการซัพพลายเชน การไหลของสารสนเทศ(Information Flow)

การเคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างสถานที่ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่สินค้า การขนส่ง = การเคลื่อนย้ายสินค้าจากสถานที่ผลิตไปยังสถานที่บริโภคสินค้านั้น การเคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างสถานที่ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่สินค้า มูลค่าเพิ่ม  อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility) อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility) เกิดขึ้นจากการเก็บรักษาสินค้าไว้จนกระทั่ง เกิดความต้องการในการบริโภคสินค้านั้น Ex. UPS Federal Express DHL ความสัมพันธ์ระหว่างการขนส่ง / โลจิสติกส์ / การตลาด การขนส่งเป็นต้นทุนที่สูงที่สุดของโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ สร้างอรรถประโยชน์ด้านเวลาและสถานที่  การตลาด

การขนส่ง ประเทศไทย โลจิสติกส์ ~ 85 % ส่วนมาก คิดว่าเป็น ??? ~10 % ~ 5 % ~ 2 %

ต้นทุนโลจิสติกส์ ประเภทของต้นทุน (2543) ประเภทของต้นทุน (2549) สัดส่วน GDP(%) การขนส่ง (Transportation) 9.5 การถือครองสินค้า (Inventory Holding) 10.3 การบริหารจัดการ (Administration) 2.0 รวม 21.8 ประเภทของต้นทุน (2549) สัดส่วน GDP(%) การขนส่ง (Transportation) 12.7 การถือครองสินค้า (Inventory Holding) 9.0 การบริหารจัดการ (Administration) 2.2 รวม 23.9

ความสามารถในการจัดเรียงสินค้า ความสะดวกในการขนถ่าย ความรับผิดชอบ เกี่ยวกับสินค้า p.138 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนค่าขนส่งและการกำหนดราคา เกี่ยวกับการตลาด p.139 เกี่ยวกับสินค้า ความหนาแน่น ความสามารถในการจัดเรียงสินค้า ความสะดวกในการขนถ่าย ความรับผิดชอบ

ระดับการขนส่งภายในรูปแบบเดียวกันและรูปแบบต่างกัน ทำเลที่ตั้งของตลาด เกี่ยวกับการตลาด ระดับการขนส่งภายในรูปแบบเดียวกันและรูปแบบต่างกัน ทำเลที่ตั้งของตลาด ระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานรัฐ ความสมดุลของการขนส่งสินค้าขาเข้าและขาออกจากตลาด ลักษณะฤดูกาลของการส่งสินค้า สินค้าที่ขนส่งในประเทศและระหว่างประเทศมีต้นทุน การขนส่งที่ต่างกัน

ลักษณะของผู้ขนส่งและบริการ การขนส่งทางถนน นิยมใช้มากที่สุด / JIT นิยมใช้เพราะต้องขนส่งบ่อย ๆ ในจำนวนที่ไม่มากและต้องการความเที่ยงตรง ของเวลาค่อนข้างสูง / บริษัทชั้นนำจะใช้บริการจากบริษัทผู้ให้บริการตามสัญญาจากภายนอก (3PL) Ex. CPDynamic Logistic / SCG CTL ข้อดี – สะดวกที่สุด / ครอบคลุมพื้นที่การบริการขนส่งได้กว้างกว่า ข้อเสีย - ถ้าปริมาณสินค้ามากหรือระยะทางไกล จะมีต้นทุนที่สูงกว่ารถไฟ การขนส่งทางรถไฟ ข้อดี – ประหยัดค่าขนส่งในกรณีที่มีการขนส่งจำนวนมากเช่นถ่านหิน ปูนซีเมนต์ น้ำมันตู้คอนเทนเนอร์ ฯ ข้อเสีย – ต้องวิ่งบนราง ที่มีเส้นทางตายตัว / มีเวลาออกรถกำหนดตายตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ตามความต้องการได้

การขนส่งทางอากาศ - ใช้กับสินค้าที่มีข้อจำกัดด้านเวลา เช่นสินค้าที่มีการส่งแบบพิเศษ สินค้าส่งด่วน ผัก ผลไม้ อัญมณี ฯ - ค่าขนส่งต่อหน่วยค่อนข้างสูง ข้อดี – รวดเร็ว ข้อเสีย – แพงที่สุด การขนส่งทางน้ำ มักใช้กับสินค้าที่ราคาต่อหน่วยไม่สูง มีปริมาณและน้ำหนักมากเช่น ข้าว ทราย ถ่านหินฯ ข้อดี – มีค่าใช้จ่ายต่ำสุด / เหมาะกับการขนส่งระยะไกล ข้อเสีย – ต่ำที่สุด / ค่อนข้างล่าช้า มีเส้นทางการขนส่งที่จำกัดเฉพาะที่เป็นแหล่งน้ำเท่านั้น การขนส่งทางท่อ ข้อดี – มีความคล่องตัวในการขนถ่ายด้วยต้นที่ต่ำ / ไม่จำกัดเวลาการส่งสินค้า / ค่าการบำรุงรักษาไม่สูง ข้อเสีย – ใช้กับสินค้าเฉพาะอย่างเท่านั้น เช่น น้ำมัน ก๊าซ / ต้นทุนการวางท่อครั้งแรกสูงมาก ex. ปตท. เดินท่อก๊าซในอ่าวไทย 400 กม. ชลบุรี สระบุรี ฯ

รูปแบบการขนส่ง 1. ผู้รับขนส่วนตัว(Private carrier) - เจ้าของธุรกิจเป็นเจ้าของยานพาหนะขนส่งสินค้าของตนเอง ex. ไทยรัฐ เดลินิวส์ ม.กรุงเทพ ?? ข้อดี - สามารถควบคุมการขนส่งได้ดี / ประหยัดค้าใช้จ่ายระยะยาวได้ ข้อเสีย - การลงทุนครั้งแรกสูง 2. ผู้รับขนสาธารณะ (Common carrier) - เป็นบริการขนส่งสาธารณะที่ดำเนินการโดยรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ex. บ. ไปรษณีย์ไทย ฯ ข้อดี – สามารถขนส่งได้โดยมีต้นทุนที่ต่ำ / ไม่ต้องลงทุนในยานพาหนะเอง ข้อเสีย – ข้อจำกัดของการส่งสินค้า 3. ผู้รับขนตามสัญญา (Contract carrier) เป็นการขนส่งพิเศษสำหรับลูกค้าเฉพาะกลุ่ม ex. ธนาคาร บ.ซีเคียวร์ริคอร์ ฯ ข้อดี – มีความปลอดภัย ข้อเสีย – ราคาสูง

ประเด็นด้านการจัดระเบียบ ประเด็นระดับโลก - การขนส่งระหว่างประเทศ - การขนส่งภายในประเทศ ประเด็นด้านการจัดระเบียบ 1. การจัดระเบียบด้านเศรษฐกิจ 2. การจัดระเบียบด้านความปลอดภัย การกำหนดราคาขนส่งและประเด็นที่เกี่ยวข้อง อัตราขนส่งและวิธีการกำหนด ประเภทอัตราค่าขนส่ง การกำหนดราคาFOB การกำหนดราคาส่งมอบ ส่วนลดปริมาณ การกำหนดราคาและการเจรจาต่อรอง

การจัดการโลจิสติกส์และการขนส่ง การขนส่งขาเข้าและขาออก ผู้บริหารงานด้านการขนส่ง  การคัดเลือกรูปแบบการขนส่ง / การคัดเลือกผู้ขนส่ง / การจัดเส้นทางและตารางเวลาการขนส่ง / การตัดสินใจซื้อหรือเช่า อุปกรณ์การขนส่ง / การรวบรวมปริมาณการขนส่ง / การเรียกร้อง ค่าเสียหายจากผู้ขนส่ง / การเจรจาต่อรองกับผู้ขนส่ง / การประสานงานด้านต่าง ๆ กับผู้ขนส่ง ฝ่ายบัญชี (ด้านการออกใบส่งของ) ฝ่ายวิศวกรรม (ด้านการบรรจุภัณฑ์ อุปกรณ์การขนส่ง) ฝ่ายกฎหมาย (ด้านการทำสัญญาการขนส่ง) การจัดการ การขนส่ง ฝ่ายผลิต (ด้านการจัดส่งวัตถุดิบภายในเวลา) ฝ่ายจัดซื้อ (ด้านการคัดเลือกและผู้จัดจำหน่าย) ฝ่ายการตลาด/ขาย (ด้านมาตรฐานการให้บริการลูกค้า) ฝ่ายรับสินค้า (ด้านเอกสารและการเรียกร้องค่าเสียหาย) ฝ่ายคลังสินค้า (ฝ่ายจัดตารางเวลาการขนส่งการยกขนสินค้า)

สัญญาระหว่างผู้ขนส่งกับผู้ส่งสินค้า - มีการเซ็นสัญญาการขนส่งกับ บ.ผู้ขนส่ง ข้อดี สามารถควบคุมกิจกรรมการขนส่งได้ ราคาค่าขนส่ง / การรับประกันระดับการให้บริการการขนส่ง พันธมิตรระหว่างผู้ขนส่งกับผู้ส่งสินค้า - สร้างพันธมิตรในการขนส่งทั้งบริษัทผู้ขนส่งและบริษัทผู้ส่งสินค้า การขนส่งส่วนบุคคล มีแนวโน้มลดลง เพราะมี player ด้านการขนส่งมากขึ้น / ค่าระวางขนส่งไม่แพงมากนัก หาซื้อบริการได้ไม่ยาก  website

ตาราง 7-4 ปัจจัยสำคัญใช้พิจารณาเลือกรูปแบบและผู้ขนส่ง กระบวนการคัดเลือกรูปแบบและผู้ขนส่ง มี 4 ขั้นตอน  การรับรู้ปัญหา การค้นหา การพิจารณาทางเลือก การประเมินผล ตาราง 7-4 ปัจจัยสำคัญใช้พิจารณาเลือกรูปแบบและผู้ขนส่ง ความซื่อสัตย์ / รับสินค้าตรงต่อเวลา / ส่งมอบสินค้าตรงเวลา / ราคาสมเหตุสมผล กำหนดเส้นทางและตารางเวลา ผู้บริหารขนส่ง ตระหนักถึงเส้นทาง ตารางเวลาการขนส่งเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ให้ทันเวลาและมีต้นทุนที่ประหยัด กิกรรม - กำหนดเส้นทางล่วงหน้า - ปรับเปลี่ยนเส้นทางและพาหนะให้เหมาะสมกับปริมาณสินค้า - ลดความถี่เส้นทางที่มีปริมาณการขนส่งไม่มาก ฯ

การให้บริการ ผู้ขนส่งให้บริการ  การรับสินค้า การส่งมอบสินค้า การเรียกร้องค่าเสียหาย ความพอเพียงของอุปกรณ์ ระยะเวลาในการเดินทาง ความสม่ำเสมอของบริการ คลังสินค้า บริการให้คำปรึกษาด้านการจัดส่ง การนำเข้าส่งออก การวิเคราะห์- ที่ตั้งทำเลของโรงงานและศูนย์กระจายสินค้า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ 4 กลุ่มงาน  การวิเคราะห์การขนส่ง การจัดเส้นทางและตารางการขนส่ง การตรวจสอบอัตราค่าระวาง การบำรุงรักษายานพาหนะ  Ex.

ผลิตภาพของการขนส่ง กิจกรรมของการขนส่งสามารถเพิ่มขึ้นได้จาก 3 กิจกรรม  ปรับปรุงการออกแบบระบบการขนส่งกระบวนการและพิธีการที่เกี่ยวข้อง  การรวบรวมสินค้า การรับสินค้า การส่งมอบสินค้า และการซื้อบริการขนส่ง ฯ 2. ปรับปรุงการใช้ประโยชน์จากแรงงานและเครื่องมืออุปกรณ์  ระบบการจัดเส้นทางและตารางการขนส่ง การใช้ประโยชน์จากพนักงานขับรถ อัตราการยกสินค้าต่อชั่วโมง การรับสินค้าเที่ยวกลับ ฯ 3. ปรับปรุงผลการดำเนินงานและเครื่องมืออุปกรณ์  การกำหนดมาตรฐานการทำงาน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการขนส่ง การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นำมันเชื้อเพลิง ฯ

องค์ประกอบการบริหารการขนส่ง 1. การบริหารงานขนส่ง (Transportation Management) 3. ความถูกต้อง (Right) 2. ความสมบูรณ์ (Perfect) จาก…บทความ “ทำอย่างไร จะบริหารขนส่งให้ได้ดี” ดร.บุญทรัพย์ พานิชการ, มีนาคม 2009

1. การบริหารงานขนส่ง(Transportation Management) - ชนิดหรือประเภทสินค้าที่ส่ง - พิจารณารูปแบบการขนส่งที่เหมาะสม - พิจารณาเส้นทางการขนส่งที่เหมาะสม - พิจารณาเวลาในการขนส่งที่เหมาะสม - ควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารการขนส่ง

2. ความสมบูรณ์ (Perfect) - การรับข้อมูลงานขนส่งและบันทึกข้อมูลต้องสมบูรณ์ - จำนวนสินค้าที่ขนส่งต้องสมบูรณ์ - การบรรจุหีบห่อสำหรับการขนส่งต้องสมบูรณ์ - สภาพสินค้าหรือหีบห่อต้องส่งมอบในสภาพที่สมบูรณ์ - สถานที่รับ-ส่งสินค้าถูกต้องตามที่ได้ตอบรับอย่างสมบูรณ์ - เวลาในการขนส่งและส่งมอบสินค้าต้องตรงตามที่ตกลงอย่างสมบูรณ์ - การวางบิลสามารถปฏิบัติได้อย่างสมบูรณ์ - เอกสารการขนส่งครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์

3. ความถูกต้อง (Right) - การขนส่งได้อย่างถูกต้องตรงตามประเภทและชนิดที่ลูกค้าต้องการ(RIGHT Product) - ปริมาณการขนส่งสินค้าถูกต้องตามคำสั่งของลูกค้า (RIGHT Quantity) - สภาพของสินค้าที่ขนส่งต้องอยู่ในสภาพที่ถูกต้องหรืออยู่ในสภาพเหมือนเดิม กับจุดเริ่มต้น (RIGHT Condition) - การส่งมอบสินค้าต้องถึงลูกค้าผู้รับสินค้าได้อย่างถูกต้อง (RIGHT Customer) - การส่งมอบสินค้าต้องถูกต้องตามสถานที่ที่ตกลงกับลูกค้า (RIGHT Place) - เวลาการส่งมอบสินค้าต้องถูกต้องตามที่ตกลงกับลูกค้า (RIGHT Time) - ต้นทุนในการขนส่งสินค้าถูกต้อง (RIGHT Cost)

หลักการ OEMUMC OE MC Transportation Management MU

OE  Optimized Efficient เป็นการสร้างประสิทธิภาพสูงสุดของการดำเนินงานขนส่ง ให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ 1. สร้างทีมงาน 2. ทบทวนการปฏิบัติงานและเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน 3. ภาวะผู้นำ KPI  การประเมินประสิทธิภาพ 4. การพัฒนาแนวทางระยะสั้น 5. พัฒนาทางออกเชิงกลยุทธ์ 6. การวิเคราะห์กำไร/ขาดทุน 7. กำหนดแผนกลยุทธ์

MU  Maximized Utilization การนำทรัพย์สินไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 1. สร้างโครงข่ายการขนส่ง 2. สร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การวิเคราะห์การขนส่งแยกกลุ่มรถ (Fleet Analysis) KPI 4. การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม (Compare Between Fleet) 5. รางวัลพิเศษรายเดือน/รายปี (Special Driver Motivation Allowance)

KPI MC  Minimized Cost การบริหารขนส่งด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด 1. เปรียบเทียบต้นทุนกับเกณฑ์มาตรฐาน (Costing Benchmark) 2. ควบคุมติดตามการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (Fuel Consumption Monitoring) 3. ควบคุมการใช้ยาง (Tire Usage Control) 4. เข้มข้นกับการซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน (Concentrate Preventing Maintenance) 5. พูดเรื่องความปลอดภัย (Safety Talk) 6. ตรวจสอบปริมาณแอลกอฮอล์และยาเสพติด (Alcohol/Drug Checking) KPI

การบริหารการขนส่งให้มีประสิทธิภาพ 1. เข้าใจหลักการ การปฏิบัติงานขนส่งอย่างถ่องแท้ 2. หน้าที่และความรับผิดชอบต้องสมบูรณ์และถูกต้อง 3. ทราบความต้องการของตลาดและผู้ใช้บริการขนส่ง 4. นำหลักการทั้งสามของ OEMUMC ไปปฏิบัติอย่างแท้จริง 5. นำระบบเทคโนโลยีสาสนเทศมาใช้เต็มรูปแบบ 6. พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 7. ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารไปยังบุคลากรทุกระดับอย่างทั่งถึง 8. ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรต้องให้ความสำคัญระบบคุณภาพ

กรณีศึกษา ISUZU Logistics Support Center

Any Problem ???