บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 2 Database systems Architecture
Advertisements

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
การกู้คืนข้อมูล Restore สำรองข้อมูล Backup. 1. เปิด Control Panel โดยการคลิกปุ่ม Start -› Control Panel ดัง รูป.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ระบบโปรแกรม Budget and Project กลุ่มงานบริหารงบประมาณ
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
หัวข้อเนื้อหา บทที่ 1 บทนำ (ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น) การนำฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ ข้อมูลและสารสนเทศ ความสำคัญของระบบฐานข้อมูลต่อการบริหารและการตัดสินใจ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ฐานข้อมูล.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบการจัดการฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
โดย...มิสนพเก้า ปราชญากุล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2553
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Seminar 1-3.
บทที่ 8 ระบบปฏิบัติการ DOS
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Information System MIS.
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
การจัดการระบบฐานข้อมูล
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
แบบทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 - 4
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
제 10장 데이터베이스.
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
[ บทที่ 2 ] กรอกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ 1. ระดับภายนอกหรือวิว (External Level หรือ View) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลหรือวิว (View) ของตนเอง 2. ระดับแนวความคิด (Conceptual Level) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดลงมา เป็นการมองเอนทิตี้และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ รวมทั้งกฎเกณฑ์และข้อจำกัด ต่าง ๆ ของข้อมูลในระดับนี้ 3. ระดับภายใน (Internal Level หรือ Physical Level) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ล่างสุด เป็นระดับของการจัดเก็บข้อมูลจริง ๆ ว่ามีโครงการจัดเก็บอย่างไร วิธีการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลทำอย่างไร        

บทสรุป ความเป็นอิสระของข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)         ความเป็นอิสระของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงกายภาพ (Physical Data Independence) 2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Data Independence)        

บทสรุป เค้าร่างของฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมูล (Database Schema) 1.เค้าร่างภายนอก (External Schema หรือ Subschema 2.เค้าร่างแนวความคิด ( Conceptual schema) 3.เค้าร่างภายใน (Internal Schema)        

บทสรุป ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล ภาษาดังกล่าว แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1.ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) 2.ภาษาสำหรับดำเนินการกับข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) 3.ภาษาสำหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL)        

บทสรุป ระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการฐานข้อมูล สามารถสรุปหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล ได้ดังนี้ 1.กำหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล 2.รับและเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล 3.ดูแลรักษาข้อมูล 4.ติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูล        

บทสรุป ระบบจัดการฐานข้อมูล 5.ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล (Integrity Control) 6.ควบคุมความปลอดภัย (Security Control) 7.การสร้างระบบสำรองและการกู้ (Backup and Recovery) 8.ควบคุมภาวการณ์ใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ (Concurrency Control)        

บทสรุป ผู้บริหารฐานข้อมูล ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)         ผู้บริหารฐานข้อมูลเป็นผู้ทำหน้าที่ควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูลทั้งหมด เป็นผู้ที่จะต้องตัดสินใจว่า จะรวบรวมข้อมูลใดบ้างเข้าไว้ในระบบ