บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
Advertisements

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Array in PHP บทเรียนเรื่อง การใช้ Array ในภาษา PHP.
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Scratch Constructivist Learning Tools for Kids
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Basic Input Output System
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Week 5 C Programming.
SMS News Distribute Service
รายวิชา การบริหารการศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนเว็บ Web Editor
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programming 3204-2007 เรียบเรียงโดย โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด

หน่วยที่ 7 พอยน์เตอร์, ตัวแปรโครงสร้าง และการจัดการไฟล์ หน่วยที่ 7 พอยน์เตอร์, ตัวแปรโครงสร้าง และการจัดการไฟล์ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของพอยน์เตอร์ 2. ตัวแปรโครงสร้าง 3. การจัดการไฟล์ 4. ไฟล์พอยน์เตอร์ 5. การเปิดและปิดไฟล์ 6. การบันทึกข้อมูลลงในไฟล์และการถ่ายโอนข้อมูลจากไฟล์

ความหมายของพอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์หรือตัวชี้ เป็นตัวแปรที่ทำหน้าที่เก็บที่อยู่ของตัวแปรในหน่วยความจำ หากต้องการให้ตัวแปรพอยน์เตอร์ชี้ไปยังข้อมูลในอาร์เรย์ จะต้องนำเลขที่อยู่ตัวแรกของอาร์เรย์มาใส่ไว้ในตัวแปรพอยน์เตอร์ก่อนเสมอ ประโยชน์ของตัวแปรพอยน์เตอร์ มีดังนี้ 1. ตัวแปรพอยน์เตอร์เพยงตัวเดียว นอกจากจะสามารถใช้ชี้ไปยังข้อมูลที่มีเลขที่อยู่แตกต่างกันได้หลายค่าแล้ว การเปลี่ยนแปลงค่าในตัวแปรพอยน์เตอร์ ก็จะได้ที่อยู่ใหม่ของข้อมูลนั้น ๆ ด้วย 2. ตัวแปรแบบพอยน์เตอร์ช่วยให้สามารถสร้างตัวแปรใหม่ ในขณะที่โปรแกรมนั้นมีการประมวลผลอยู่ 3. เราสามารถใช้ตัวแปรพอยน์เตอร์ร่วมกับตัวแปรประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอาเรย์, กลุ่มข้อมูล หรือตัวแปรแบบโครงสร้าง

ตัวแปรโครงสร้าง และการจัดการไฟล์ ตัวแปรโครงสร้างจะมีตัวแปรที่เป็นโครงสร้างตัวหนึ่งและประกอบด้วยสมาชิกต่าง ๆ ภายในตัวแปรโครงสร้าง ซึ่งการประกาศตัวแปรโครงสร้าง จะทำให้การใช้งานตัวแปรแลดูง่ายและเป็นระบบยิ่งขึ้น รวมถึงง่ายต่อการอ้างอิงเพื่อใช้งาน ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อความหรือเรียกว่าเท็กซ์ไฟล์ จะมีคุณสมบัติที่เด่นชัด คือ เป็นไฟล์ที่เราอ่านออกและสามารถเรียกดูข้อมูลในเท็กซ์ไฟล์ได้จากโปรแกรมเอดิเตอร์ต่าง ๆ ได้ เช่น Notepad ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ หรือโปรแกรม Q-Edit ในระบบปฏิบัติการดอสหรืออาจเรียกดูได้จากคอมมานด์พร็อมต์ก็ได้ ด้วยการใช้คำสั่ง type

ไฟล์พอยน์เตอร์ การเขียนโปรแกรมภาษาซีเพื่อจัดการกับแฟ้มข้อมูลจะมีอยู่ 3 ขั้นตอนหลัก ๆ ด้วยกัน คือ 1. เปิดแฟ้มข้อมูล 2. ประมวลแฟ้ม ไม่ว่าจะเป็นการ เขียน/อ่าน/เพิ่ม 3. ปิดแฟ้มข้อมูล และเมื่อมีการกระทำกับแฟ้มข้อมูลใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน เขียน หรืออื่น ๆ ขั้นตอนแรกจำเป็นต้องมีการเปิดแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเสียก่อน โดยจะต้องระบุด้วยว่าจะทำการเปิดแฟ้มข้อมูลเพื่ออะไร ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดแฟ้มข้อมูลเพื่ออ่าน 2. เปิดแฟ้มข้อมูลเพื่อบันทึก 3. เปิดแฟ้มข้อมูลเพื่อบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมต่อท้าย

การเปิดและปิดไฟล์ ฟังก์ชัน fopen ( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับเปิดไฟล์ การเปิดไฟล์เพื่อใช้งาน จะต้องระบุว่าไฟล์ที่เปิดนั้นต้องการให้ทำอะไร เช่น “r” เปิดไฟล์เพื่ออ่านอย่างเดียว “w” เปิดไฟล์ใหม่เพื่อบันทึก และหากเป็นไฟล์ที่มีอยู่แล้วก็จะสร้างใหม่ ซึ่งส่งผลให้ข้อมูลที่มีอยู่เดิมสูญหายหมด “a” เปิดไฟล์ที่มีอยู่แล้วเพื่อบันทึกเพิ่มเติม “r+” เปิดไฟล์ที่มีอยู่แล้วเพื่อทั้งอ่านและบันทึก “w+” เปิดไฟล์ใหม่เพื่อทั้งอ่านและบันทึก “a+” เปิดไฟล์ที่มีอยู่แล้วเพื่ออ่านและบันทึกเพิ่มเติมต่อท้าย ฟังก์ชัน fclose ( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับปิดไฟล์ ซึ่งมีรูปแบบ ดังนี้

การบันทึกข้อมูลลงในไฟล์และการถ่ายโอนข้อมูลจากไฟล์ การบันทึกข้อมูลลงในไฟล์แบบทีละตัวอักษร จะใช้ฟังก์ชัน fputc ( ) การอ่านข้อมูลทีละตัวอักษร จะใช้ฟังก์ชัน fgetc ( ) การบันทึกข้อมูลลงในไฟล์ที่มีรูปแบบ จะใช้ฟังก์ชัน fprintf ( ) การอ่านข้อมูลที่บันทึกจากฟังก์ชัน fprintf ( ) จะใช้ฟังก์ชัน fscanf ( )