เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สนับสนุนโดย สำนักงานประกันสังคม
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี วัตถุประสงค์ 1. ระบุความจำเป็นที่ต้องใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลได้ 2. ระบุอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ส่วนบุคคลที่ต้องใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
การทดสอบความรู้ก่อนเรียน แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
หลักการป้องกันอันตรายจากสารเคมี 1. ป้องกันที่แหล่งกำเนิด ทางผ่านและที่ตัว ผู้ปฏิบัติงานตามลำดับ 2. เน้นการใช้มาตรการทางวิศวกรรมเป็นสำคัญ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ตัวอย่างการประยุกต์มาตรการป้องกันที่บริเวณต่าง ๆ ทางผ่าน แหล่งกำเนิด ผู้ปฏิบัติงาน (ระหว่างแหล่งกำเนิดกับผู้ปฏิบัติงาน) มาตรการทางวิศวกรรม แหล่งกำเนิด 1. เปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีสะอาด 2. ติดตั้งระบบระบายอากาศเฉพาะที่ 3. ใช้วัตถุดิบที่มีอันตรายน้อยกว่า 4. บำรุงรักษาเพื่อความปลอดภัย ทางผ่าน 1. ติดตั้งระบบระบายอากาศแบบเจือจาง 2. ทำฉากกัน 3. เพิ่มระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดกับผู้ปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน 1. กำหนด Safe Work Procedure 2. กำหนดพื้นที่อันตราย 3. เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน มาตรการทางการจัดการ แหล่งกำเนิด 1. กำหนดนโยบายแก้ปัญหาที่แหล่งกำเนิด 2. จัดสรรงบประมาณป้องกันควบคุมอันตราย 3. การจัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องจักรที่ปลอดภัย ทางผ่าน 1. ทำ 5 ส. 2. ป้านเตือนอันตราย 3. ความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยของที่ทำงาน ผู้ปฏิบัติงาน 1. การอบรมให้ความรู้ 2. หมุนเวียนกันทำงาน ลดการสัมผัส 3. ตรวจสุขภาพพิเศษ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
จงระบุอุปกรณ์ฯ ที่จำเป็น ในการทำงานกับสารเคมี แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ความจำเป็นที่ต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครอง ความปลอดภัยส่วนบุคคล (กรณีสารเคมี) ทำไมต้องใช้อุปกรณ์ต่อไปนี้ ที่กรองอากาศ ถุงมือยาง รองเท้าพื้นยางหุ้มแข้ง/หุ้มส้น กระบังหน้าชนิดใส ที่กันสารเคมีกระเด็นสู่ร่างกาย แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ข้อกำหนดในกฎหมายเกี่ยวกับ การสวมใส่อุปกรณ์ฯ ข้อกำหนดของกฎหมาย ตลอดเวลาที่ทำงานกับสารเคมีที่มีลักษณะหรือ ปริมาณที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ลูกจ้าง ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ส่วนบุคคล แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ฯที่ต้องสวมใส่ในการทำงานกับสารเคมี 1. กรณีสารเคมีฟุ้ง กระจายในอากาศ ที่กรองอากาศ หรือเครื่องช่วยหายใจ แว่นตา 2. กรณีสารเคมีในรูปของเหลวที่เป็นพิษ ถุงมือยาง รองเท้าพื้นยาง หุ้มแข้ง กระบังหน้า ชนิดใส/แว่นตา ที่กันสารเคมี กระเด็นถูกร่างกาย 3. กรณีสารเคมีในรูปของแข็งที่เป็นพิษ ถุงมือยาง รองเท้าพื้นยางหุ้มส้น แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี การจัดแบ่งชนิดของรองเท้านิรภัย 1. รองเท้านิรภัยทั่วไป 2. รองเท้านิรภัยปกป้องส่วนบนของเท้าทั้งหมด 3. รองเท้านิรภัยป้องกันการเจาะทะลุ 4. รองเท้าตัวนำไฟฟ้า 5. รองเท้าป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา 1. แว่นตานิรภัย 2. ครอบตานิรภัย 3. กระบังหน้า 4. ถุงครอบศีรษะ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา (ต่อ) ครอบตากันสารเคมี แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา (ต่อ) กระบังหน้า แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา (ต่อ) ถุงครอบศีรษะ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี อุปกรณ์ปกป้องลำตัว ชุดป้องกันสารเคมี 1. ชุดป้องกันก๊าซพิษ 2. ชุดป้องกันการกระเด็นของของเหลวอันตราย 3. ชุดป้องกันการปนเปื้อนทั่วไป แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ปกป้องลำตัว (ต่อ) 1. ชุดป้องกันก๊าซพิษ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ปกป้องลำตัว (ต่อ) 2. ชุดป้องกันการกระเด็นของเหลวอันตราย แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
อุปกรณ์ปกป้องลำตัว (ต่อ) 3. ชุดป้องกันการปนเปื้อนทั่วไป แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี การเลือกใช้ เกณฑ์การเลือกใช้ 1. ประสิทธิภาพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง 2. น้ำหนักและความสะดวกสบายในการใช้งาน 3. ขนาด 4. การทำความสะอาดและการดูแลรักษา แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
การดูแลรักษาและข้อควรระวัง 1. การทำความสะอาด 2. การตรวจสภาพ 3. การจัดเก็บ แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
การทดสอบความรู้หลังเรียน แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี