การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ หัวข้อ 3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ (9 เดือน ระดับ 4 : ทำแผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) เป้าหมาย 9 - 12 ด. หน่วยงาน จำนวน (แห่ง) การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ (ระดับ 4, 5) สสจ. 1 (1) รพศ/รพท. 3 (1) รพช. 21 (14) สสอ. 25 (19) รวม 50 (35) สถานการณ์ ค่าเฉลี่ยความสุขภาพรวมจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 62.08 (เขต1=63.17, กสธ.= 62.60, *ประเทศ= 59.3) มิติการเงิน ต่ำสุด ร้อยละ 50.33 (กสธ. 50.65) มิติจิตวิญญาณ สูงสุด ร้อยละ 70.09 (กสธ. 70.47) การดำเนินงาน ตั้ง คกก. แผนสุขภาพทางการเงิน โดย นพ.สสจ.เป็นประธาน มี คทง. กลั่นกรองคุณสมบัติบุคลากร ก่อนออกหนังสือประกอบการยื่นกู้ มี คกก. เสริมสร้างความสุข รายหน่วยงาน แต่ไม่ครอบคลุม รพศ./รพท. H. Money จนท. ยื่นกู้กับ SCB/KTB ประมาณ 60 ราย และอยู่ระหว่างยื่นเพิ่ม H. Redeeming/H. Communication ปสช. ให้ จนท. ทราบ หน่วยงานบางส่วนจัดทำแผนสร้างสุข และจัดกิจกรรมตามแผน รวมทั้งมีการรายงานผลการดำเนินงานแล้ว แต่บางส่วนยังไม่รายงาน อยู่ระหว่างติดตาม สสจ. จัดกิจกรรมสร้างสุข เป็นกิจกรรมกลุ่มสร้างความรักสามัคคีในองค์กร รพ.นครพิงค์ จัดเสริมสร้างความสุข ปรับรูปแบบการจัดสวัสดิการเยี่ยมไข้เจ้าหน้าที่ และมีกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ของแผนกต่าง ๆ ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ปัญหาของพื้นที่ - คำสั่งยังไม่ครอบคลุม ไม่กำหนดแนวทางกำกับติดตาม จึงขอให้ทบทวน ข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศ - ขอให้จัดระบบในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน - การบันทึกผลงาน ทาง web : bps.moph.go.th/new_bps/intro.php - การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ PR ผลงาน * หน่วยงาน คือ สสจ. รพศ./รพท. รพช. และ สสอ. (รพ.สต. นับรวมใน สสอ.)