Chemistry Introduction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สมบัติของสารและการจำแนก
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ธาตุและสารประกอบ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
Material requirements planning (MRP) systems
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
Gas Turbine Power Plant
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
Alkyne และ Cycloalkyne
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Nuclear Symbol kru piyaporn.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chemistry Introduction

การศึกษาวิชาเคมี (เคมีคืออะไร) “การศึกษาสมบัติของสสาร และการเปลี่ยนแปลงของสสาร” แบ่งออกเป็น 5 สาขาหลัก ๆ ดังนี้ อนินทรีย์เคมี สมบัติของสารประกอบของธาตุ(Inorganic) อื่นๆ นอกเหนือจากคาร์บอนและ ไฮโดรเจน อินทรีย์เคมี สมบัติของสารประกอบของคาร์บอนและ (Organic) ไฮโดรเจน

การศึกษาวิชาเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ ทฤษฎีและความคิดรวบยอดต่าง ๆ ทาง ชีวเคมี สมบัติของสารประกอบในสิ่งมีชีวิต (Biochemistry) เคมีเชิงฟิสิกส์ ทฤษฎีและความคิดรวบยอดต่าง ๆ ทาง (Physical) เคมี เคมีวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์ทางเคมี (Aalytical)

สมบัติของสสาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. สมบัติทางกายภาพ (Physical properties) สมบัติเฉพาะตัว ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร เช่น สี ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นต้น 2. สมบัติทางเคมี (Chemical properties) สมบัติที่ขึ้นกับองค์ประกอบทางเคมีของสารนั้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทำให้เกิดสารใหม่ มีสมบัติต่างไปจาก เดิม เช่น การเผาไหม้ ปฏิกิริยาการสะเทิน

 การเผาไหม้ จัดเป็นสมบัติทางเคมี ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเผาไหม้ของไม้ ไม้ + ก๊าซออกซิเจน  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ + ความร้อน สารที่มีในตอนแรก (สารตั้งต้น) แตกต่างกับสารที่เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลง (ผลิตภัณฑ์) แสดงว่ามีสารใหม่เกิดขึ้น  การเผาไหม้ จัดเป็นสมบัติทางเคมี

การจำแนกสสาร

“การจำแนกลักษณะเนื้อสาร ใช้การมองด้วยตา ในการแยกเท่านั้น” “การจำแนกลักษณะเนื้อสาร ใช้การมองด้วยตา ในการแยกเท่านั้น” สารเนื้อเดียว องค์ประกอบกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น น้ำ อากาศ กระดาษ A4 ฯลฯ สารเนื้อผสม องค์ประกอบไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน สามารถแยก ส่วนประกอบต่าง ๆ ด้วยสายตาได้ เช่น พริกกะเกลือ คอนกรีต ดิน ฯลฯ

สารละลาย ( Solution ) เป็นสารไม่บริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวถูกละลาย (solute) ตัวทำละลาย (solvent) จุดเดือด , จุดหลอมเหลว ไม่คงที่ มีทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เช่น น้ำเกลือ มีสถานะเป็นของเหลว ประกอบด้วย น้ำ  ตัวทำละลาย และ เกลือ  ตัวถูกละลาย อากาศ มีสถานะก๊าซ ประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน  ตัวทำละลาย และ ก๊าซออกซิเจน, ก๊าซคาร์บอนได - ออกไซด์, ก๊าซเฉื่อยชนิดต่างๆ  ตัวถูกละลาย

สารบริสุทธิ์ ( Pure Substance ) สารเนื้อเดียว ที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จุดเดือด , จุดหลอมเหลว คงที่ จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ ธาตุ (element) สารประกอบ (compound) ธาตุ หมายถึง สารบริสุทธิ์ที่ไม่สามารถแยกสลายเป็นสารอื่นได้อีก ด้วยวิธีการใด ๆ ทางเคมี

อาจจะแบ่งธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะได้ 3 ชนิด คือ ปัจจุบันมีธาตุบรรจุอยู่ในตารางธาตุแล้วกว่า 109 ธาตุ มีทั้งที่ พบในธรรมชาติ และสังเคราะห์ขึ้นมาใหม่ อาจจะแบ่งธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะได้ 3 ชนิด คือ

สัญลักษณ์ของธาตุ อักษรภาษาอังกฤษที่ใช้เขียนแทนชื่อของธาตุแต่ละชนิด มาจากอักษรตัวแรกในชื่อของธาตุ ( ภาษาอังกฤษ, กรีก หรือ ละติน ) ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ในกรณีที่อักษรตัวแรกเหมือนกัน ให้มีตัวอักษรตัวที่ 2 เขียนติดกัน แต่ต้องเป็นตัวพิมพ์เล็กเท่านั้น เช่น คาร์บอน  Carbon  C แคลเซียม  Calcium  Ca แคดเมียม  Cadmium  Cd

สารประกอบ เกิดจากการรวมตัวกันด้วยปฏิกิริยาเคมีของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ด้วยอัตราส่วนที่คงที่ สามารถใช้วิธีการทางเคมีแยกสลายสารประกอบกลับมาเป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบได้ ไม่สามารถแยกสลายได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เช่น น้ำ (H2O) เกิดจากธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม รวมกับธาตุออกซิเจน 1 อะตอม ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากธาตุคาร์บอน 1 อะตอม รวมกับธาตุออกซิเจน 2 อะตอม

ธาตุ สารประกอบ ธาตุ สารประกอบ ธาตุ ธาตุ จงจำแนกว่าสสารที่กำหนดให้เป็นธาตุหรือสารประกอบ N CO O2 SO2 Br C4 ธาตุ สารประกอบ ธาตุ สารประกอบ ธาตุ ธาตุ

หน่วยย่อยของสสาร เราสามารถบอกลักษณะหน่วยย่อยของสสารออกเป็น 2 แบบ คือ 1. อะตอม (atom) หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ (สสาร) และยังคงแสดงสมบัติต่าง ๆ ของธาตุนั้นได้ 2. โมเลกุล (molecule) หน่วยที่เล็กที่สุดของสารบริสุทธิ์ ที่ยังคงแสดงสมบัติต่าง ๆ ของสารนั้นได้ อาจจะประกอบด้วยอะตอมมากกว่า 1 อะตอม (โมเลกุลของธาตุ) หรือธาตุมากกว่า 1 ชนิดก็ได้ (โมเลกุลของสารประกอบ)

Model ของ อะตอมและโมเลกุล โมเลกุลของธาตุ O3 โมเลกุลของสารประกอบ H2O

โครงสร้างของอะตอม โครงสร้างของอะตอมประกอบ ด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ โครงสร้างของอะตอมประกอบ ด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ นิวเคลียส ประกอบด้วยอนุภาค 2 ชนิด ดังนี้ 1.1 โปรตอน (p) มีประจุ + 1.2 นิวตรอน (n) เป็นกลางทางไฟฟ้า (ไม่มีประจุ) อิเล็กตรอน (e) มีประจุ - วิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส

วิธีการแยกสารให้บริสุทธิ์ (วิธีทางกายภาพ) แยกของผสมระหว่างของแข็งกับของเหลว (ไม่ละลาย) วัสดุที่ใช้กรอง (กระดาษกรอง) มีขนาดรูพรุนที่เหมาะสม เช่น การแยกน้ำกะทิจากกากมะพร้าว, กรองตะกอนออกจากของเหลว เป็นต้น 1. การกรอง (filtration)

2. การตกผลึก (crystallization) แยกตัวถูกละลายออกจากสารละลายที่อิ่มตัวแบบยิ่งยวด สารที่แยกออกมาอยู่ในสถานะของแข็ง โดยอาศัยสมบัติของการะลายที่แตกต่างในสภาวะต่าง ๆ เช่น การตกผลึกสารส้ม 2. การตกผลึก (crystallization)

3. การกลั่น (distillation) 3.1 การกลั่นแบบธรรมดา แยกสารหรือตัวทำละลายที่ระเหยง่าย ออกจากตัวถูกละลายที่ระเหยยาก อาศัยความแตกต่างของจุดเดือด > 80 C เช่น การกลั่นแยกน้ำบริสุทธิ์ออกจากน้ำทะเล

3.2 การกลั่นลำดับส่วน แยกสารหรือตัวทำละลายที่ระเหยง่าย ทีละ 1 ชนิดออกจากสารละลาย สารที่มีจุดเดือดต่ำ ระเหยออกมาก่อน เช่น การกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม

3.3 การกลั่นด้วยไอน้ำ ไม่ให้ความร้อนแก่สารที่กลั่นโดยตรง ใช้ไอน้ำร้อนเข้าไปผสมกับสารที่ต้องการแยก สารที่ต้องการจะระเหยเป็นไอมาพร้อมกับไอน้ำ สารที่ออกมาต้องแยกชั้นกับน้ำ (ไม่ละลายน้ำ) เช่น การแยกน้ำมันหอมระเหยออกจากพืช

4. การสกัดด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) แยกสาร 2 ชนิดที่มีความ สามารถในการละลายต่างกัน โดยใช้ตัวทำละลายที่เหมาะสม ส่วนมากจะใช้น้ำ + ตัวทำละลายอินทรีย์ หลักการ like dissloves like เช่น การแยกน้ำมันออกจากเมล็ดพืช โดยใช้เฮกเซน

4. โครมาโทกราฟี (Chromatography) แยกสารที่มีสีและไม่มีสีออกจากกัน (ใช้สารปริมาณน้อย) แยกโดยอาศัยสมบัติการละลายและการดูดซับที่แตกต่างกันของสาร ใช้ตัวทำละลายที่เหมาะสม เป็นตัวเคลื่อนที่ไปละลายสารที่ต้องการแยก ให้ไหลผ่านตัวดูดซับ ตัวดูดซับ เช่น กระดาษ อลูมินา ซิลิกา ผงถ่าน เป็นต้น สารที่ละลายในตัวทำละลายนั้นได้ดี จะเคลื่อนที่ไปกับตัวทำละลายได้ไกล และถูกดูดซับไว้ได้น้อย มีหลายปะเภท แยกตามลักษณะการแยกหรือตัวดูดซับ 4. โครมาโทกราฟี (Chromatography)

โครมาโทกราฟีแบบต่าง ๆ

..The End..