หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
Advertisements

หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ไฟฟ้า.
แนะนำอุปกรณ์และเครื่องมือตรวจวิเคราะห์พลังงานความร้อน
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
แผ่นดินไหว.
อาจารย์สัญชัย เอียดแก้ว ( , )
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
Electrical Instruments and Measurements
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เมื่อเลิกทำการวัดแรงดันไฟฟ้าแล้วเข็มชี้จะกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้อย่างไร เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-2 เมื่อเลิกทำการวัดแรงดันไฟฟ้าแล้วเข็มชี้จะกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้อย่างไร 5 สัญลักษณ์ข้างบนนี้ หมายถึงอะไร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-3 การวัดทางไฟฟ้า หมายถึงอะไร? การเปรียบเทียบปริมาณทาง ไฟฟ้าที่ต้องการวัดกับปริมาณไฟฟ้ามาตรฐานที่กำหนดไว้ เครื่องวัดไฟฟ้า หมายถึงอะไร? เครื่องมือวัดใดๆ ทางไฟฟ้า ที่ใช้วัดปริมาณต่างๆ ทาง ไฟฟ้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-4 เครื่องวัดไฟฟ้า แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ? ประเภทของเครื่องวัดไฟฟ้า แบ่งตาม 1. หลักการทำงาน 2. ชนิดของไฟฟ้า 3. การแสดงผลการวัด 4. การนำไปใช้งาน 5. หน้าที่ที่ใช้วัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-5 เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหลักการทำงาน มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบ อิเล็กทรอเมกคานิก เข็มชี้เคลื่อนที่ ปริมาณทางกล ปริมาณไฟฟ้าที่วัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-6 2. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล แสดงผลเป็นตัวเลข สัญญาณดิจิตอล ปริมาณไฟฟ้าที่วัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เปรียบเทียบกับปริมาณมาตรฐาน เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-7 3. เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่าศูนย์ เข็มชี้ค่าศูนย์ เปรียบเทียบกับปริมาณมาตรฐาน ปริมาณไฟฟ้าที่วัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-8 เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามชนิดของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 1. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 VDC COM + 2. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ A ~ 300 200 150 50 V ~ 300 200 150 50 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผลการวัด เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-9 เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการแสดงผลการวัด มีอะไรบ้าง? 1. แบบชี้ค่า (Indicating) ชี้บอกค่าขณะที่ทำการวัด 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + V ~ 300 200 150 50 2. แบบบันทึกค่า บันทึกผลการวัดปริมาณ ไฟฟ้าในช่วงเวลาที่ทำการวัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-10 3. แบบสะสมค่า (Integrating) สะสมปริมาณไฟฟ้าที่ทำการวัดตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด การวัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-11 เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามการนำไปใช้งาน มีอะไรบ้าง? 1. แบบติดแผง (Panel) ยึดติดผนังตู้ควบคุมไฟฟ้า 5 10 6 7 8 9 4 3 2 1 ADC COM + V ~ 300 200 150 50 2. แบบพกพา (Portable) พกพาหรือหิ้วถือ ไปมาได้ สะดวก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-12 3. แบบตั้งโต๊ะ (Desktop) มีขนาดใหญ่นำติดตัวไม่สะดวก จึงตั้งบนโต๊ะ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ที่ใช้วัดปริมาณไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-13 เครื่องวัดไฟฟ้าที่แบ่งตามหน้าที่ที่ใช้วัดปริมาณไฟฟ้า มีอะไรบ้าง? 1. แอมมิเตอร์ (Ammeter) ใช้วัดปริมาณกระแสไฟฟ้า 2. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ใช้วัดปริมาณ แรงดันไฟฟ้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-14 3. มัลติมิเตอร์ (Multi meter) ใช้วัดปริมาณไฟฟ้าหลายชนิด 4. วัตต์มิเตอร์ (Wattmeter) ใช้วัดปริมาณ กำลังไฟฟ้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้า เคลื่อนที่ได้เกิดจากแรงบิดอะไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-15 เข็มชี้ของเครื่องวัดไฟฟ้า เคลื่อนที่ได้เกิดจากแรงบิดอะไรบ้าง? 1. แรงบิดบ่ายเบน(Deflecting) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ออกไปจากตำแหน่งเดิมไปชี้ค่าบนสเกล 2. แรงบิดควบคุม(Controlling) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ค่าบนสเกลได้ถูกต้อง 3. แรงบิดหน่วง(Damping) แรงบิดที่ทำให้เข็มชี้ไม่แกว่ง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-16 แรงบิดของเครื่องวัดไฟฟ้า เกิดขึ้นได้อย่างไร? I S N 0A XA แกนเหล็กเคลื่อนที่ ลูกสูบและห้องอากาศ สเกล สปริง แกนเหล็ก อยู่กับที่ S N I สปริง 0A XA สเกล ลูกสูบและห้องอากาศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-17 แรงบิดควบคุม เกิดขึ้นได้อย่างไร? 1. สปริงก้นหอย 2. น้ำหนักถ่วง แบริ่งรองรับแกนหมุน สเกล เข็มชี้ น้ำหนักสมดุล สปริงก้นหอย แกนหมุน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-18 แรงบิดหน่วง เกิดขึ้นได้อย่างไร? 1. อากาศหรือของเหลว 2. กระแสไฟฟ้าไหลวน แผ่นโลหะบาง ห้องอากาศ เข็มชี้ แกนหมุน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-19 ขนาดของแรงบิดหน่วง การสวิงของเข็มชี้ ตำแหน่งเข็มชี้ หยุดนิ่ง หน่วงน้อยเกินไป หน่วงพอดี หน่วงมากเกินไป ใช้เวลามาก ใช้เวลาน้อย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

สัญลักษณ์ต่างๆ ของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-20 สัญลักษณ์ต่างๆ ของเครื่องวัดไฟฟ้า ใช้เพื่อแสดงคุณลักษณะต่างๆ ของเครื่องวัดไฟฟ้าตลอดจน การนำไปใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง 2. สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า 3. สัญลักษณ์ตำแหน่งการวาง 4. สัญลักษณ์เครื่องหมายการค้า 5. สัญลักษณ์อื่นๆ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-21 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง ขดลวดเคลื่อนที่ แกนเหล็กเคลื่อนที่ อิเล็กทรอไดนามิกแบบไม่มีแกนเหล็ก อิเล็กทรอไดนามิกแบบมีแกนเหล็ก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-22 สัญลักษณ์ชนิดของไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสตรง ~ ไฟฟ้ากระแสสลับ ~ ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ ~ ไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย 1 ตัววัด ~ ไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย 2 ตัววัด ~ ไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย 3 ตัววัด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

สัญลักษณ์แสดงตำแหน่งการวาง เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-23 สัญลักษณ์แสดงตำแหน่งการวาง วางในแนวตั้งฉาก วางในแนวนอน 60o วางเป็นมุมเอียงตามที่กำหนด เช่น 60o ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า

สัญลักษณ์แสดงเครื่องหมายการค้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-24 สัญลักษณ์แสดงเครื่องหมายการค้า SANWA ยี่ห้อ SANWA FLUKE ยี่ห้อ FLUKE METRIX ยี่ห้อ METRIX สัญลักษณ์อื่นๆ ทดสอบฉนวนด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 5 kV 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า