ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ อาจารย์ ดร.อารีย์ ชื่นวัฒนา 16 กรกฎาคม 2548
หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12. 1 หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12.1. ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12.1.1. ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบ สารสนเทศ 12.1.2. การศึกษาผู้ใช้ 12.2. ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 12.2.1. แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 12.2.2 การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13. 1 หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13.1. แนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 13.1.1. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 13.1.2. ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 13.2. กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ 13.2.1. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 13.2.2. กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ
13.3. การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการออกแบบส่วนต่อประสาน 13.3.1. การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 13.3.2 การออกแบบส่วนต่อประสาน
หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12. 1 หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12.1. ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12.1.1. ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบ สารสนเทศ - คำจำกัดความของผู้ใช้ - การจำแนกประเภทผู้ใช้ - ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้กับระบบค้น คืนสารสนเทศ
ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ คือ ผู้มีความต้องการสารสนเทศ แสวงหา ค้นหา หรือ ใช้สารสนเทศ / ตัวแทนสารสนเทศประเภทของผู้ใช้ จำแนกโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น ลักษณะของสารสนเทศ องค์กรที่ผู้ใช้ทำงานอยู่ ลักษณะของงานหรืออาชีพ ความหลากหลายของผู้ใช้ เป็นเหตุผลสำคัญของการศึกษาผู้ใช้ ความสัมพันธ์ของผู้ใช้กับระบบ ผู้ใช้มีความสำคัญต่อ การออกแบบระบบและการจัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
12. 1. 2 การศึกษาผู้ใช้. - ความหมาย ขอบเขต. - ประเภทของการศึกษาผู้ใช้ 12.1.2 การศึกษาผู้ใช้ - ความหมาย ขอบเขต - ประเภทของการศึกษาผู้ใช้ - ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษาผู้ใช้ - วิธีวิจัยเกี่ยวกับผู้ใช้ - แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้
การศึกษาผู้ใช้ – ความต้องการของผู้ใช้ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ อาจจะเน้นเกี่ยวกับ ผู้ใช้ เกี่ยวกับการใช้ระบบ หรือเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้จากการใช้สารสนเทศ วัตถุประสงค์ – เพื่อให้เกิดความเข้าใจ นำความรู้ความเข้าใจมาพัฒนาบริการ และออกแบบระบบสารสนเทศที่ใช้ง่าย และมีประสิทธิภาพในการค้นหา การศึกษาผู้ใช้ – มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากการเน้นระบบเป็นศูนย์กลาง มาสู่ การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลางและผนวกวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นแรงผลักดันที่สำคัญ วิธีวิจัย – ระเบียบวิธีวิจัยที่นิยมใช้ได้แก่ การสำรวจ การสัมภาษณ์และการซักถามกลุ่ม การจดบันทึกประจำวัน การสังเกต การใช้หลักฐานทางเอกสาร และการทดลอง
12. 2. ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 12. 2. 1 12.2. ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 12.2.1. แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ - คำจำกัดความ และปัญหาของความต้องการ สารสนเทศของผู้ใช้ - ประเภทของความต้องการ - ความต้องการของผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ
ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ภาวะที่บุคคลตระหนักถึงช่องว่างทางความรู้ หรือการขาดสารสนเทศ ซึ่งผลักดันให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ความต้องการสารสนเทศ – มีลักษณะเป็นพลวัต จำแนกได้ตามเงื่อนไขของเวลา ตามขอบเขตและลักษณะความต้องการ การศึกษาความต้องการสารสนเทศส่วนใหญ่วางอยู่บนแนวคิดที่ว่า การศึกษากลุ่มผู้ใช้ จะช่วยให้ทราบความต้องการของผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ หรือศึกษาความต้องการสารสนเทศโดยมีกิจกรรมของงานเป็นตัวกำหนด
12. 2. 2. การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้. - ความสำคัญ 12.2.2. การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ - ความสำคัญ - ความเปลี่ยนแปลงทางกรอบแนวคิด / ทฤษฎี และวิธีการศึกษา - ตัวแบบที่สำคัญ - ความต้องการสารสนเทศใน สภาพแวดล้อมทางการงาน (Wilson) - ความต้องการสารสนเทศเฉพาะบุคคล (Dervin’s Sense-making)
การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งจะนำมาใช้ประโยชน์ในการจัดบริการสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลของระบบค้นคืนที่มีเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการ พัฒนาการของการศึกษาใน 3 ประเด็น: หัวข้อของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงจาก การเน้นระบบเป็นศูนย์กลางมาสู่การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง นำไปสู่การวิจัยเพื่อหาตัวแบบใหม่ ๆ
การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งจะนำมาใช้ประโยชน์ในการจัดบริการสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลของระบบค้นคืนที่มีเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการ พัฒนาการของการศึกษาใน 3 ประเด็น: หัวข้อของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงจาก การเน้นระบบเป็นศูนย์กลางมาสู่การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง นำไปสู่การวิจัยเพื่อหาตัวแบบใหม่ ๆ
ตัวแบบใหม่ – ตัวแบบความต้องการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางการงานของวิลสัน และตัวแบบ sense-making ของเดอร์วิน ตัวแบบใหม่เน้นบทบาทของผู้ใช้ในระบบค้นคืนสารสนเทศ เปลี่ยนแนวคิดที่ว่าความต้องการสารสนเทศมีลักษณะคงที่ตายตัวมาสู่ ความต้องการสารสนเทศที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม นำเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพเข้ามาผสมผสานกับเทคนิคเชิงปริมาณ
หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13 หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13.1 แนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 13.1.1แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ - คำจำกัดความ - พัฒนาการของแนวคิด - ทฤษฎี - การแสวงหาสารสนเทศกับกระบวนการเรียนรู้ - ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ – กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อตอบสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ – รูปแบบหนึ่งของการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งผู้ค้นต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบการค้นคืนในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ – มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ ผสมผสานแนวคิด ทฤษฎีและศาสตร์จากสาขาต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร จิตวิทยา การศึกษา สารสนเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาวิจัยนำไปสู่การพัฒนาระบบสารสนเทศที่เอื้อต่อการค้นหาสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ (e.g., Principle of the Least Effort, Cognitive science, Affective domain, Sense-making) พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ – รูปแบบหนึ่งของการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งผู้ค้นต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบการค้นคืนในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ. 1. ผู้แสวงหาสารสนเทศ. 2 ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ 1. ผู้แสวงหาสารสนเทศ 2. ภาระงานในการแสวงหาสารสนเทศ 3. ระบบค้นหา 4. โดเมน (กลุ่มวิทยาการ องค์ความรู้ในสาขาวิชา หนึ่ง ๆ) 5. บริบท (ทางกายภาพ เศรษฐกิจ จิตวิทยา สังคม) 6. ผลการค้นหา
13. 1. 2. ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13.1.2. ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ - Ellis’ Behavioral Model of Information Seeking - Bates’ Berrypicking Model - Kuhlthau’s Information Search Process (ISP)
ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบทั้งสามยึดผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาถึงความต้องการหรือปัญหาสารสนเทศของผู้ใช้ที่มีลักษณะเป็นพลวัต ขึ้นอยู่กับความหลากหลายของบริบท และพฤติกรรมการแสวงหา / ค้นหาสารสนเทศที่ตรงกับความเป็นจริง ตัวแบบของเอลลิส เป็นตัวแบบทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ มีประโยชน์ต่อการออกแบบระบบการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบไฮเปอร์เท็กซ์
ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบของเบทส์ เป็นตัวแบบสำหรับการค้นหาสารสนเทศระบบออนไลน์และระบบอื่น ๆ มีประโยชน์สำหรับการออกแบบระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนของฐานข้อมูล และส่วนต่อประสาน ตัวแบบของคัลเธา สะท้อนให้เห็นประสบการณ์ร่วมของผู้ใช้ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ มีประโยชน์ต่อการวินิจฉัยปัญหาของผู้ใช้ และให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมแก่ผู้ใช้
13. 2. กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ. 13. 2. 1 13.2. กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ 13.2.1. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 1. การตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ 2. การระบุและเข้าใจปัญหา 3. การเลือกระบบค้นหา 4. การกำหนดข้อคำถาม 5. การดำเนินการค้นหา 6. การตรวจสอบผลลัพธ์ 7. การดึงสารสนเทศที่ต้องการ 8. การพิจารณา / ค้นหาซ้ำ / ยุติการค้นหา
13. 2. 2. กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ. 1 13.2.2. กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ 1. กลยุทธ์การค้นหาสารสนเทศออนไลน์ - สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้นักสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบฐานข้อมูลออนไลน์สามารถค้นหาสารสนเทศมาบริการผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. กลยุทธ์การสำรวจเลือกดู – เป็นแนวทางธรรมชาติในการค้นหาสารสนเทศ จึงเหมาะสำหรับผู้ใช้ปลายทาง นับเป็นกลยุทธ์สำคัญสำหรับการแสวงหาสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางอิเล็กทรอนิกส์
13.3. การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการออกแบบส่วนต่อประสาน 13.3.1 การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการศึกษา พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 2. แนวเรื่องที่ศึกษา 3. ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการศึกษาพฤติกรรมการ แสวงหาสารสนเทศ – จากการยึดระบบเป็นศูนย์กลาง มาเป็น การเน้นผู้ใช้ 2. แนวเรื่องที่ศึกษา – เปลี่ยนจากการใช้สารสนเทศ หรือระบบ สารสนเทศ มาเป็น ความต้องการของผู้ใช้ ปัญหาทางสารสนเทศ ของผู้ใช้ ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้ การสร้างตัวแบบ 3. ระเบียบวิธีวิจัย – การนำวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้ เพราะ วิธีวิจัยที่ใช้อยู่เดิมไม่เพียงพอที่จะค้นหาคำตอบในเรื่องที่มีความ สลับซับซ้อน และเป็นพลวัต
13. 3. 2 การออกแบบส่วนต่อประสาน. 1. คำจำกัดความ. 2 13.3.2 การออกแบบส่วนต่อประสาน 1. คำจำกัดความ 2. ส่วนประกอบของส่วนต่อประสาน - ส่วนประกอบด้านกายภาพ - ส่วนประกอบด้านแนวคิด 3. เกณฑ์ในการออกแบบ - ผู้ใช้ระบบ - หลักการออกแบบ 4. พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อ ประสาน
ส่วนต่อประสาน – ช่องทางสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือระบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประกอบของส่วนต่อประสาน - ส่วนประกอบด้านกายภาพ (อุปกรณ์ที่อำนวยความสะดวกในการนำเข้าและส่งออกข้อมูล เช่น แผงแป้นพิมพ์ เครื่องพิมพ์) - ส่วนประกอบด้านแนวคิด (แบบปฏิสัมพันธ์ โครงสร้างตัวแทนความรู้ กลไกในการค้นหา)
การออกแบบระบบ. 1. ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ. - ประเภทของผู้ใช้ การออกแบบระบบ 1. ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ - ประเภทของผู้ใช้ - ปัจจัยทางวัฒนธรรม - ความรู้ในการใช้ระบบสารสนเทศของผู้ใช้ 2. หลักการออกแบบ เน้นการออกแบบที่ทำให้ผู้ใช้ประสบความสำเร็จ และเพลิดเพลิน พึงพอใจในการใช้
พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อประสาน พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อประสาน ดำเนินควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ช่วงทศวรรษ 1970 ส่วนต่อประสานประกอบด้วยเครื่องเทอร์มินัลที่มีความสามารถจำกัด แบบปฏิสัมพันธ์เป็นการใช้ภาษาคำสั่งและการเลือกเมนู ซึ่งเป็นการสั่งให้ระบบปฏิบัติการ ช่วงทศวรรษ 1980 พัฒนาเป็นส่วนต่อประสานกราฟฟิก (Graphical User Interface) แบบปฏิสัมพันธ์ ผู้ใช้ใช้ส่วนต่อประสานโดยตรง ปัจจุบัน ยังคงพัฒนาเรื่องการใช้ส่วนต่อประสานโดยตรง เน้นการออกแบบที่ให้ผู้ใช้โดยทั่วไปสามารถเข้าใจและใช้ระบบได้ด้วยตัวเอง