ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 2 บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า บทที่ 1 บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า History of Electroconvulsive Therapy Electroconvulsive Therapy Role of Nurse During ECT ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวคิดสำคัญของการบำบัดรักษาทางจิต เวช โรคทางจิตเวชมีปัจจัยเหตุร่วมกันทั้งปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านจิตใจ และปัจจัยด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ดังนั้นการบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวชจึงต้องอาศัยการบำบัดรักษาร่วมกันทั้งการบำบัดรักษาทางชีวภาพ การบำบัดรักษาทางจิตใจ และการบำบัดรักษาทางสังคม สิ่งแวดล้อม
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัดรักษาทางชีวภาพ : การใช้ยา (จิตเภสัชบำบัด) การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro-Convulsive Therapy; ECT) การบำบัดทางจิต : การให้คำปรึกษา(Couselling) จิตบำบัด (Psychotherapy) รายบุคคล/รายกลุ่มครอบครัวบำบัด CBT การบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ : พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช 3. การบำบัดทางสังคม/สิ่งแวดล้อม : สิ่งแวดล้อมบำบัด(Milieu Therapy) กิจกรรมบำบัด (Group Activity Therapy) ชุมชนบำบัดอาชีวบำบัด การจำกัดพฤติกรรม (Setting Limits) ด้วยการใช้เครื่องผูกมัด (Restraints)ห้องแยก(Isolation)หรือกักขัง (Seclusion) 4. การบำบัดในภาวะวิกฤต และภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช