GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทวีปยุโรป.
Advertisements

10 ประเทศอาเซียน 10 ประเทศอาเซียน.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
KM ข้าวไทยในแอฟริกา 8 มีนาคม 2553 โดย ศศิวิมล ทะสุนทร.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
นิวซีแลนด์ ไทย อินเดีย อิตาลี นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ หมายถึง “ ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว ” เป็น ประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง.
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
History TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
FTA.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
เวลามาตรฐาน ใน S.E.A. อาจารย์สอง Satit UP.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Ernest Rutherford.
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
หลุยส์ ปาสเตอร์.
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศมีประชากรผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก.
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความดัน (Pressure).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ประวัติศาสตร์กฎหมาย Legal History
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ทวีปเอเชีย.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
ยิ้มก่อนเรียน.
Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
แบบทดสอบความรู้เรื่อง
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Desert

Thar desert หรือ Great Indian desert

ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างอินเดียกับปากีสถาน

ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน

ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) หรือ เรียกอีกชื่อว่า ทะเลทรายเกรตอินเดียน (Great Indian Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน

ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) หรือ เรียกอีกชื่อว่า ทะเลทรายเกรตอินเดียน (Great Indian Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน

ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) ถือเป็นบริเวณที่แห้งแล้งที่สุดของภูมิภาคเอเชียใต้

Desert Plateau

ที่ราบสูงอินเดีย หรือ ที่ราบสูงเดคคาน Deccan plateau ที่ราบสูงอินเดีย หรือ ที่ราบสูงเดคคาน

ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็นที่ตั้งของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย

ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย

ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย เป็นที่ตั้งของที่ราบสูงอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย

ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็นที่ตั้งของที่ราบสูงอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย

Malabar coast ชายฝั่งมาลาบาร์ Coromandel coast ชายฝั่งโคโรแมนเดล Coast , Cape , strait Palk Strait Cape Comorin

ชายฝั่งที่เป็นแนวยาวขนาบ 2 ข้างของอินเดีย คือ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก มีชื่อว่า ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก คือชายฝั่งโคโรแมนเดล

ชายฝั่งโคโรแมนเดล ชายฝั่งมาลาบาร์ แหลมโคโมริน

ชายฝั่งที่เป็นแนวยาวขนาบ 2 ข้างของอินเดีย คือ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก มีชื่อว่า ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก คือชายฝั่งโคโรแมนเดล นั้นเป็นชายฝั่งที่มีความสำคัญในการใช้เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลตั้งแต่โบราณ ระหว่าง อาหรับ เปอร์เซีย กับ จีน ซึ่งต้องผ่านชายฝั่งนี้

ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งโคโรแมนเดล เป็นชายฝั่งที่มีความสำคัญในการใช้เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลตั้งแต่โบราณ ระหว่าง อาหรับ เปอร์เซีย กับ จีน ซึ่งต้องผ่านชายฝั่งนี้

วาสโก ดา กามา(Vasco da Gama) นักเดินเรือของโปรตุเกส เป็นนักเดินเรือคนแรกของยุโรปที่สามารถหาเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชีย โดยมายังเอเชียบริเวณแรก คือบริเวณชายฝั่งมาลาบาร์ ของอินเดียระหว่าง ค.ศ. 1497 (พ.ศ. 2040) โดยแล่นเรือตรงจากเมืองลิสบอน ของโปรตุเกสไปถึงชายฝั่งมะลาบาร์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย โดยแล่นเรืออ้อมผ่านแหลม กู๊ดโฮป(Good Hope) ของแอฟริกา (ซึ่ง Bartolomew Dias เป็นผู้ค้นพบแหลมนี้ เมื่อปี ค.ศ. 1488 (พ.ศ. 2031)) โดย วาสโก ดา กามา มีชีวิตอยู่ในสมัยอยุธยาตรงกับสมัยพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระ เชษฐา ธิราช)

เส้นทางเดินเรือที่ วาสโก ดา กามา(Vasco da Gama) นักเดินเรือของโปรตุเกส เป็นนักเดินเรือคนแรกของยุโรปที่สามารถหาเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชีย โดยมายังเอเชียบริเวณแรก คือบริเวณชายฝั่งมาลาบาร์ ของอินเดียระหว่าง ค.ศ. 1497 (พ.ศ. 2040) โดยแล่นเรือตรงจากเมืองลิสบอน ของโปรตุเกสไปถึงชายฝั่งมะลาบาร์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย โดยแล่นเรืออ้อมผ่านแหลม กู๊ดโฮป(Good Hope) ของแอฟริกา

Plate tectonics

ด้านบนของเอชียใต้ ตั้งอยู่แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน

ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดัน แผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน และเมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกชนกัน แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้น ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดัน แผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน

แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ทำให้เทือกเขาตามแนวชนนี้มีความสูงชัน ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดันแผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน

แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาบริเวณริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ทำให้เทือกเขาตามแนวชนนี้มีความสูงชัน

แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกชนกัน แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้น ตัวอย่างนี้คือ ในแนวที่เป็นประเทศปากีสถาน

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียนเมื่อประมาณ 35 ล้านปีที่แล้ว เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาขนาดใหญ่ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ซึ่งเป็นแนวเทือกเขาหินใหม่ที่มีความสูงชันมาก

แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน นี้ก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา และเป็นเทือกเขาที่มีความสูงชัน ตลอดจนเป็นแนวที่เกิดแผ่นดินไหวได้ง่าย