GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Desert
Thar desert หรือ Great Indian desert
ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างอินเดียกับปากีสถาน
ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน
ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) หรือ เรียกอีกชื่อว่า ทะเลทรายเกรตอินเดียน (Great Indian Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน
ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) หรือ เรียกอีกชื่อว่า ทะเลทรายเกรตอินเดียน (Great Indian Desert) เป็นทะเลทรายที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ตั้งอยู่ระหว่างรัฐราชาสถาน(Rajasthan)ของอินเดียกับปากีสถาน
ทะเทรายธาร์ (Thar Desert) ถือเป็นบริเวณที่แห้งแล้งที่สุดของภูมิภาคเอเชียใต้
Desert Plateau
ที่ราบสูงอินเดีย หรือ ที่ราบสูงเดคคาน Deccan plateau ที่ราบสูงอินเดีย หรือ ที่ราบสูงเดคคาน
ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็นที่ตั้งของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย
ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย
ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย เป็นที่ตั้งของที่ราบสูงอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย
ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็นที่ตั้งของที่ราบสูงอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย ตอนกลางของคาบสมุทรอินเดีย(เดคคาน)เป็นเขตที่ราบสูง ซึ่งเป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกร่อนมานานทำให้ ในแถบนี้เป็นเทือกเขาเตี้ยๆ ไม่มีความสูงชันมากเหมือนแนวเทือกเขาตอนบนของภูมิภาค และตอนกลางเป็นเขตที่ราบสูงที่แห้งแล้งเพราะมีแนวเทือกเขาล้อมรอบทำให้ได้รับความชื้นจากอิทธิพลของลมมรสุ่มได้น้อย
Malabar coast ชายฝั่งมาลาบาร์ Coromandel coast ชายฝั่งโคโรแมนเดล Coast , Cape , strait Palk Strait Cape Comorin
ชายฝั่งที่เป็นแนวยาวขนาบ 2 ข้างของอินเดีย คือ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก มีชื่อว่า ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก คือชายฝั่งโคโรแมนเดล
ชายฝั่งโคโรแมนเดล ชายฝั่งมาลาบาร์ แหลมโคโมริน
ชายฝั่งที่เป็นแนวยาวขนาบ 2 ข้างของอินเดีย คือ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก มีชื่อว่า ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก คือชายฝั่งโคโรแมนเดล นั้นเป็นชายฝั่งที่มีความสำคัญในการใช้เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลตั้งแต่โบราณ ระหว่าง อาหรับ เปอร์เซีย กับ จีน ซึ่งต้องผ่านชายฝั่งนี้
ชายฝั่งมาลาบาร์ และ ชายฝั่งโคโรแมนเดล เป็นชายฝั่งที่มีความสำคัญในการใช้เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลตั้งแต่โบราณ ระหว่าง อาหรับ เปอร์เซีย กับ จีน ซึ่งต้องผ่านชายฝั่งนี้
วาสโก ดา กามา(Vasco da Gama) นักเดินเรือของโปรตุเกส เป็นนักเดินเรือคนแรกของยุโรปที่สามารถหาเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชีย โดยมายังเอเชียบริเวณแรก คือบริเวณชายฝั่งมาลาบาร์ ของอินเดียระหว่าง ค.ศ. 1497 (พ.ศ. 2040) โดยแล่นเรือตรงจากเมืองลิสบอน ของโปรตุเกสไปถึงชายฝั่งมะลาบาร์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย โดยแล่นเรืออ้อมผ่านแหลม กู๊ดโฮป(Good Hope) ของแอฟริกา (ซึ่ง Bartolomew Dias เป็นผู้ค้นพบแหลมนี้ เมื่อปี ค.ศ. 1488 (พ.ศ. 2031)) โดย วาสโก ดา กามา มีชีวิตอยู่ในสมัยอยุธยาตรงกับสมัยพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระ เชษฐา ธิราช)
เส้นทางเดินเรือที่ วาสโก ดา กามา(Vasco da Gama) นักเดินเรือของโปรตุเกส เป็นนักเดินเรือคนแรกของยุโรปที่สามารถหาเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชีย โดยมายังเอเชียบริเวณแรก คือบริเวณชายฝั่งมาลาบาร์ ของอินเดียระหว่าง ค.ศ. 1497 (พ.ศ. 2040) โดยแล่นเรือตรงจากเมืองลิสบอน ของโปรตุเกสไปถึงชายฝั่งมะลาบาร์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย โดยแล่นเรืออ้อมผ่านแหลม กู๊ดโฮป(Good Hope) ของแอฟริกา
Plate tectonics
ด้านบนของเอชียใต้ ตั้งอยู่แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน
ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดัน แผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน และเมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกชนกัน แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้น ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดัน แผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน
แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ทำให้เทือกเขาตามแนวชนนี้มีความสูงชัน ภาพ : เพลตอินเดียนเลือนลงและดันแผ่นยูเรเชียขึ้นด้านบน
แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาบริเวณริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ทำให้เทือกเขาตามแนวชนนี้มีความสูงชัน
แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกชนกัน แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้น ตัวอย่างนี้คือ ในแนวที่เป็นประเทศปากีสถาน
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือเพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียนเมื่อประมาณ 35 ล้านปีที่แล้ว เมื่อขอบเพลตทั้งสองเพลตนี้เคลื่อนมากระแทกกันเข้า แรงกระแทกก็ก่อให้เกิดเทือกเขาขนาดใหญ่ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา ซึ่งเป็นแนวเทือกเขาหินใหม่ที่มีความสูงชันมาก
แนวชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก(Plate tectonics) 2 เพลต คือ เพลตอินเดียนและเพลตยูเรเซียน นี้ก็ก่อให้เกิดเทือกเขาหินใหม่ ขึ้นมาที่ริมขอบเพลตที่เกิดการชนกันนั้นในเวลาต่อมา และเป็นเทือกเขาที่มีความสูงชัน ตลอดจนเป็นแนวที่เกิดแผ่นดินไหวได้ง่าย