โครงสรางพื้นฐานของเซลล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
Entity-Relationship Model E-R Model
Animal cell.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ระบบขับถ่ายของเสีย.
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
เซลล์ (Cell).
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก 5 สี ดีต่อสุขภาพ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
บทที่ 4 หน่วยของสิ่งมีชีวิต.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การรักษาดุลภาพของเซลล์
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
ยีน และ โครโมโซม.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ระบบย่อยอาหาร.
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสรางพื้นฐานของเซลล โปรโทพลาซึม (Protoplasm) โปรโทพลาสซึมคือสวนที่อยูภายในเยื่อหุมเซลลทั้งหมด ประกอบไปดวย นิวเคลียสและไซโทพลาซึม

โครงสรางพื้นฐานของเซลล นิวเคลียส (Nucleus) มีลักษณะคอนขางกลม เป น โครงสรางของเซลลที่ เห็นชัดอยูตรงกลาง เซลล ทําหน าที่เปนศูนยควบคุมกิจกรรม ต างๆ ภายในเซลล เชน การแบ งเซลล รวม ไปถึงลักษณะทาง พันธุกรรม มี องคประกอบแบงเป น 2 สวนใหญๆ ดังนี้ คือ

The nucleus and the envelope

Chromatin สารพันธุกรรม ทําหนาที่ถายทอดลักษณะ ทาง พันธุกรรม

Nucleolus Nucleolus มีลักษณะเปนเมดกลมขนาดเล็กในนวเคลียส ในหนึ่งเซลลอาจมหนง่ หรือสอง เม็ด มองเห็นชัดขณะเซลลไมม ีการแบงตัวหนาที่ สราง ribosome (rRNA + protein)

โครงสรางพื้นฐานของเซลล

โครงสรางพื้นฐานของเซลล ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ไซโทพลาสซึมคือสวนที่อยูระหวางนิวเคลียสและเยื่อหุมเซลล แบงเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนของเหลว (Cytosol) และสวนที่เป นของแข็ง (Organelle)

โครงสรางพื้นฐานของเซลล ออรแกแนลล (Organelle) : เรียกไดวา เปนอวัยวะของเซลล มี หลายชนิด กระจายอยู ตามตําแหนงตาง ๆ ในไซโทพลาซึม โดยสามารถแบ งออรแกเนลลตามจํานวนชั้นเยื่อ หุม โดยที่เยื่อหุมเหลานั้นจะมี โครงสรางคลายเยื่อหุมเซลล

องคประกอบของเซลล

โครงสรางพื้นฐานของเซลล ออรแกแนลล (Organelle) : เรียกไดวา เปนอวัยวะของเซลล มี หลายชนิด กระจายอยู ตามตําแหนงตาง ๆ ในไซโทพลาซึม โดยสามารถแบ งออรแกเนลลตามจํานวนชั้นเยื่อ หุม โดยที่เยื่อหุมเหลานั้นจะมี โครงสรางคลายเยื่อหุมเซลล

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม ไรโบโซม (ribosome) : แหลงสังเคราะห โปรตีนเปนออรแกเนลลที่ไมมเยื่อหุม รูปรางเปนกอน ทําหนาที่สังเคราะห โปรตีนประกอบดวยหนวยยอย 2 หนวย คือ หนวยยอยขนาดเล็กและหนวยยอย ขนาดใหญ

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม Ribosome

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม เซนทริโอ (centriole) : โครงรางทําใหโครมาทิด แยกออกจากกันในสิ่งมีชีวิตบางชนิด เปนออรแกเนลลที่ไมพบในเซลลพ ืชและพวก เห็ด รา เปนบริเวณที่ยึดเสนใยสปนเดลช วยในการ เคลื่อนที่ของโครโมโซม และแยกโคร มาทิดแตละคู ออกจากกันขณะเซลลแบ งตัว

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงรางที่ค้ําจุน เปนโครงรางที่ค้ําจุนเซลลแบงไดเปน 3 ชนิด ไมโครทิวบูล เกิดจากโปรตีนที่เรียกวา ทูบูลิน (tubulin) เรียงตอกันเป นสาย อินเทอรมีเดียทฟลาเมนท (intermediate filaments) ไมโครฟลาเมนท (microfilament) หรือแอกทินฟลาเมนท (actin filaments)

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม

ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น เอนโดพลาสมิกเรคลู ัม (edoplasmic reticurum : ER) : โรงงานผลิตและลําเลียงสารใน เซลล อยูลอมรอบนิวเคลียส แบงได 2 ชนิด คือ เอนโดพลาสมิกเรตคิ ลู ัมแบบผิวขรุขระ (rough endoplasmic reticulum : RER) มีหนาที่สังเคราะหโปรตีน เอนโดพลาสมิกเรตคิ ลู ัมแบบผิวเรียบ (smooth endoplasmic reticulum : SER) ทําหนาที่สังเคราะหสารสเตรอยด

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น RER SER

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น กอลจิคอมเพลกซ (Golgi complex หรือ Golgi bodies) : แหลงรวบรวมบรรจุและขนสง มีลักษณะเปนถุงกลมแบน กอลจิคอม เพล็กซ มักพบอยูใกลกับ ER ไมพบใน เซลลเมดเลือดแดงที่ โตเต็มที่แลวของสัตว เลี้ยงลูกดวยนม ทําหนาที่เติม กลุมคาร โบไฮเดรตใหกับโปรตีนหรือลิพดที่สงมา จาก ER

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น The Golgi apparatus

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น การทํางานรวมกันระหวาง ER กับ Golgi complex

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น ไลโซโซม (lysosome) : ผูขนสงเอนไซม ภายใน แปลกปลอม เชน มีเอนไซมทําลายสิ่ง ไลโซโซมในเซลลตับ โดย ไปรวมกับเวสิเคิลที่มสารแปลกปลอม เมื่อ เซลลไดรับอันตรายหรือจะตาย ไลโซโซม จะปลอยเอนไซม ออกมาส ไซโทพลาสซู มึ เพอย่ื อยสลายเซลล ท งหมด้ั

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น Lysosomes in a white blood cell

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น The formation and functions of lysosomes

Peroxisome เปนถุงที่มีเยื่อหุมชั้นเดียว ภายในเปนที่รวมของ เอนไซมยอมตดสีเขมเอนไซมชนดตางๆทําหนาที่ เกี่ยวของกับการสรางหรือทําลาย hydrogen peroxide (H2O2) เพื่อปองกันไมใหเกิดสารพิษขึ้น ภายในเซลล เชน เซลลตับ RH2 + O2 2H2O2 R + H2O2 2H2O + O2 Oxidase catalase

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น แวคิวโอล (vacuole) : ถุงบรรจุสาร แวคิวโอลมีหลายชนิด ทําหนาที่แตกตาง กันไป เชน คอนแทร็กไทลแวคิวโอล (contractile vacuole) ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) แซบแวคิวโอล (sap vacuole)

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น The plant cell vacuole (sap vacuole) แซบแวคิวโอล ทําหนาที่สะสมสารบาง ชนิด เชน สารสี ไอออน น้ําตาล กรดอะมิ โน ผลึกและสารพิษตาง ๆ สีของกลีบ ดอกไม สีแดง สีมวง สีน้ําเงิน มีสารสีที่ เรียกวา แอนโทไซยานิน (anthocyanin) ละลายอยูในแซบแวคิวโอล

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น Food vacuole ทําหนาที่ บรรจุอาหารที่รับมาจาก ภายนอกเซลลเพื่อยอย สลายตอไป พบในเซลล เม็ดเลือดขาวและ สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น คอนแทร็กไทลแวคิวโอล (Contractile vacuole ) ) ทําหนาที่รักษา สมดุลของน้ํา พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา พารามีเซียม

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น พลาสติด (pladtid) : เม็ดสีในเซลล เปนออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น Plastid หรือ เม็ดสี มี 3 ชนิด ไดแก คลอโรพลาสต (chloroplast) เปนพลาสติดที่มีสีเขียว เนื่องจากมีสารคลอโรฟลล เปนแหลงสรางอาหารของเซลลพืชและโพรทิสตบางชนิด โครโมพลาสต (chromoplast) เปนพลาสติดที่มีสารที่ทําใหเกิดสีตาง ๆ ยกเวนสี เขียว ทําใหดอกไม ใบไมและผลไมมีสีสันสวยงาม เชน ผลสีแดงของพริก รากของแครอท ลิวโคพลาสต (leucoplast) เปนพลาสติดที่ไมมสี ี มีหนาที่สะสมเม็ดแปงท่ไดจาก การสังเคราะหดวยแสง พบในเซลลที่สะสมอาหาร เชน มันเทศ มันแกว เผือก ผลไมเชน กลวย และใบพืชบริเวณที่ไมมีสี

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น Plastid หรือ เม็ดสี มี 3 ชนิด ไดแก คลอโรพลาสต (chloroplast) โครโมพลาสต (chromoplast) ลิวโคพลาสต (leucoplast)

ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น ไมโทคอนเดรีย (mitochondia) : แหลง พลังงานในเซลล เปนแหลงผลิตสารที่ให พลังงานแกเซลล เยื่อหุมไมโทคอนเดรีย มี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมีลกษณะเรียบ เยื่อ ชั้นในจะพับทบแลวยื่นเขาไปดานใน สวนที่ยื่นเขาไปนี้เรียกวา คริสตี (cristae) เพื่อเพิ่มพน้ ที่ผิว

สาระสําคัญ ใน mitochondria และ chloroplast มีลักษณะหลายอยางรวมกับสิ่งมีชีวิตพวก Prokaryote เชน มีสารพันธุกรรมอยางงายๆเปนของตัวเอง มี 70s ribosome มีการพับ ทบเขาไปของเยื่อหุมชั้นใน

สาระสําคัญ Cilia, flagellum (9+0) และ centriole และ basal body (9+2) เปนโครงสร างที่ เกิดจากการเรียงกันของทอ Microtubule

โครงสราง Prokaryote Eukaryote เซลลพืช เซลลสัตว Cell wall มี ไมมี Cell membrane ER Golgi body Mitochondria Plastid Lysosome Peroxysome Ribosome Nuclear membrane Nucleolus Chromosome DNA DNA และ โปรตีน

THE CELL

การรักษาดุลภาพของเซลล ตลอดเวลาที่เซลลยังมีชีวิตอยูจะมีการเลียงสารเขาและออกจากเซลล ตลอดเวลา จุดที่ นาสนใจเกิดขึ้นบริเวณแรกคือที่เยื่อหุมเซลล (Cell membrane) เพราะผนังเซลล (Cell wall) ที่หุมอยูดานนอกนั้นยอมให สารผานไดทุกชนิด ซึ่งแตกตางจากเยื่อหุมเซลลที่ ยอมใหสารผาน ไดบางชนิดเทานั้น เยื่อหุมเซลลจงมคี ณสมบัตทิ ี่เรียกวา “เยื่อ เลือกผาน” (Semipermeable membrane) สมบัติดังกลาวทําใหเยื่อหุมเซลล มีบทบาทสําคัญในการ ควบคุมองคประกอบทางเคมี หรือสภาวะแวดลอม ภายในเซลล

การรักษาดุลภาพของเซลล

การรักษาดุลภาพของเซลล การเคลื่อนที่ผานเยื้อหุมเซลล ใชกับสารที่มีขนาดเล็ก แบงเปน 2 ประเภทหลักใหญ ๆ คือ 1. การเคลื่อนที่แบบไมใชพลังงานจากเซลล (Passive transport) 2. การเคลื่อนที่แบบใชพลังงาน (Active transport)

การรักษาดุลภาพของเซลล

การรักษาดุลภาพของเซลล Active transpor การลําเลียงแบบใชพลังงาน (active transport) สามารถใชพลังงาน บังคับใหสาร เคลื่อนที่จากบริเวณที่สารมีความเขมขนต่ําไปยังบริเวณที่สารมี ความเขมขนสูงกวาได เกิดขึ้นในเซลลที่มีไมโทคอนเดรียเยอะๆ โดยอาศัย โปรตีนตัวพา (Carrier protein) เทานั้น ที่แทรกอยูในเยื่อหุมเซลลทําหน าที่เปนตัวลําเลียง การลําเลียงแบบใชพลังงาน จะใชพลังงานที่ไดจากการ สลายพันธะของสารที่มีพลังงานสูงบางชนิด เชน ATP (Adenosine triphosphate)

การรักษาดุลภาพของเซลล Passive transport เปนการนําสารผานเขาออกเซลลโดยไมใชพลังงาน มีหลายวิธี ดังนี้ การแพร (Diffusion) Simple diffusion เปนการแพรผานเยื่อหุมเซลลโดยตรงของแก สและน้ํา Facilitated diffusion เปนการแพรที่เกิดขึ้นภายในสิ่งมีชีวิตเทานั้น โดยผาน โปรตีนตัวพาที่เยื่อหุมเซลล

Simple vs. facilitated diffusion simple diffusion facilitated diffusion inside cell inside cell lipid H2O protein channel outside cell outside cell H2O

การรักษาดุลภาพของเซลล ออสโมซิส (Osmosis) ออสโมซิส คือการแพรของ น้ํา ผานเยื้อเลือกผานโดยน้ําจะ แพรจาก บริเวณที่มีน้ํามาก

การรักษาดุลภาพของเซลล

การรักษาดุลภาพของเซลล การเคลื่อนที่ของสารโดยไมผานเยื้อหุมเซลล การลําเลียงสารโมเลกุลใหญเขาหรือ ออกจากเซลล เซลลสามารถลําเลียงสารเหลานี้ ไดดวยกลไกการลําเลียง โดยการสรางเวสสิเคิล จากเยื่อหุมเซลล การลําเลียงดวยวิธีนี้สามารถ แบงไดเปน 2 ชนิด ตามทิศทางการลําเลียงสาร ออกหรือเขาเซลล คือ เอกโซไซโทซิส (exocytosis) และเอนโดไซโทซิส (endocytosis)

การรักษาดุลภาพของเซลล Exocytosis กระบวนการลําเลียงสารที่มี โมเลกุลขนาดใหญออกจากเซลล โดย เกิดจากการหลอมรวมเยื่อหุม vesicle ที่บรรจุสารกับเยื่อหุมเซลล  แลวปลอย สารนั้นออกไป นอกเซลล เชน สาร พวกเอน ไซมหรือฮอรโมน การหลั่ง เอน ไซมจากเยื่อบุผนงกระเพาะอาหาร

การรักษาดุลภาพของเซลล Endocytosis การลําเลียงสารขนาดใหญเขาสูเซลล โดยเอนโดไซโทซิสในสิ่งมีชีวิต มีชื่อเรียก แตกตางกันไปตามกลไกการลําเลียง เชน ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) พิโนไซโทซิส (pinocytosis) การนําเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (receptor - mediated endocytosis)

การรักษาดุลภาพของเซลล