นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์ นายแพทย์สมาน ฟูตระกูล ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์เอดส์ทั่วโลก และประเทศไทย ปี 2559
แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในแต่ละกลุ่มประชากร Source: AIDS Epidemic Models by Oct. 2016, Projection & Estimation Working Group
สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 - 2560 ที่มา: วิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลรายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา ,ข้อมูลปี 2560 ปรับปรุง ณ วันที่ 20 ธ.ค 61
มัธยฐานการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรหลัก ปี พ.ศ.2553 - 2559
ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ ลดการเลือกปฎิบัติจากเอดส์ร้อยละ ๙๐ ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ ปี 60-73 ๓ เป้าประสงค์ ๖ ยุทธศาสตร์ ๑๗ ผลลัพธ์ ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ < ๑,๐๐๐ คน/ปี ลดการตายจากเอดส์ < ๔,๐๐๐ คน/ปี ลดการเลือกปฎิบัติจากเอดส์ร้อยละ ๙๐ ๑. มุ่งเน้นและเร่งรัดจัดชุดบริการที่มีประสิทธิผลสูงให้ครอบคลุมพื้นที่และประชากรภาวะเสี่ยงสูง ๑.๑ บริการรอบด้านที่มีประสิทธิผลครอบคลุมประชากรเสี่ยงสูง ๙๕% ๒. ยกระดับคุณภาพ และบูรณาการงานป้องกันที่มีประสิทธิผลให้เข้มข้นและยั่งยืน ๒.๑ ไม่มีเด็กเกิดใหม่ติดเชื้อทุกจังหวัด ๒.๒ ประชาชนเป้าหมายรอบรู้และมีพฤติกรรมปลอดภัย ๒.๓ งานป้องกันเอชไอวีมีคุณภาพและบูรณาการอยู่ในระบบแผนงานปกติ ๓. พัฒนาและเร่งรัดการรักษา และช่วยเหลือทางสังคมให้มีคุณภาพและยั่งยืน ๔. ปรับภาพลักษณ์ ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ ๕. เพิ่มความร่วมรับผิดชอบ การลงทุนและประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ ๖. ส่งเสริมและพัฒนาการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการวิจัยที่รอบด้าน
เป้าประสงค์และเป้าหมายหลัก ของการยุติปัญหาเอดส์ 2573 2563 เป้าหมาย 2568 2573 ลดการติดเอชไอวีรายใหม่ < 2,000 ราย < 1,200 ราย < 1,000 ราย ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 12,000 ราย < 8,000 ราย < 4,000 ราย ลดการรังเกียจ การเลือกปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับเอดส์และเพศภาวะ ลดลง 50% ลดลง 75% ลดลง 90%
Reach Recruit Test Treat Retain มาตรการRRTTR เพื่อ ?? เข้าถึงเพื่อให้ รู้เท่าทัน มีเครื่องมือป้องกัน Reach เข้าสู่ระบบบริการ ปรึกษา-คัดกรอง-รักษา STIs /MMT Recruit ตรวจและรู้สถานะการติดเชื้อเอชไอวี Test รักษาด้วยยาต้านไวรัสฯเร็วทุกระดับCD4 + กินยาฯและติดตามต่อเนื่อง จนกดไวรัสสำเร็จ Treat - ป้องกันต่อเนื่อง และ ตรวจHIVสม่ำเสมอ Retain
รู้ วิธีป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี การลดพฤติกรรมเสี่ยงจากเพศสัมพันธ์ (abstinence, faithful) ถุงยางอนามัย/ถุงอนามัยสตรี ยาต้านไวรัสเอดส์ (HAART) วัคซีนเอชไอวี การป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี การป้องกันเอดส์จาก แม่สู่ลูก (PMTCT) ไมโครบิไซด์ เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาที่สะอาด PrEP และ PEP การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย คัดกรองและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
PrEP ในประเทศไทย
พื้นที่ดำเนินงาน 8 จังหวัด จ.นครราชสีมา - รพ.มหาราช - รพ. เทพรัตน์ จ.ปทุมธานี - รพ. ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จ.อุดร - รพศ.อุดรธานี จ. นนทบุรี - รพ.พระนั่งเกล้า จ.ขอนแก่น - รพ. ศรีนครินทร์ - รพศ. ขอนแก่น - ศูนย์สาธารณสุขชุมชนเมืองชาตะผดุง กรุงเทพมหานคร - รพ. เลิดสิน - รพ. บางรัก - ศูนย์ฯ กทม 4,26,28,48,51 จ. ชลบุรี - รพ. มหาวิทยาลัยบูรพา จ. ภูเก็ต รพ. ป่าตอง
โครงการ PrEP ปี 2561 งบประมาณกองทุนโลก (GF) และ TUC กลุ่มMSM GF 7 จังหวัด 1.พิษณุโลก 2.นครสรรค์ 3.พระนครศรีอยุธยา 4.นครปฐม 5.ระยอง 6.นครศรีธรรมราช 7.สุราษฎร์ธานี กลุ่ม PWID GF 19 จังหวัด 1.เชียงราย 11.นครศรีธรรมราช 2. เชียงใหม่ 12. ตรัง 3. แม่ฮ่องสอน 13. สตูล 4. ตาก 14. พัทลุง 5. นนทบุรี 15.สงขลา 6.ปทุมธานี 16.นราธิวาส 7.สมุทรปราการ 17.ปัตตานี 8.ขอนแก่น 18.ยะลา 9. กาฬสินธุ์ 19. กทม. 10.สุราษฎร์ธานี พื้นที่เป้าหมาย TUC 13 จังหวัด PrEP-Package ภาคเหนือ (เชียงใหม่ เชียงราย) ภาคกลาง (สมุทรปราการ ชลบุรี นนทบุรี ปทุมธานี กทม.) ภาคอีสาน (ขอนแก่น อุดรธานี นครราชสีมา อุบลราชธานี ภาคใต้ (ภูเก็ต สงขลา)