งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การดำเนินงานให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรุก ของจังหวัดลพบุรี”และ “การดำเนินงานให้การปรึกษา เพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรับและเชิงรุก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การดำเนินงานให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรุก ของจังหวัดลพบุรี”และ “การดำเนินงานให้การปรึกษา เพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรับและเชิงรุก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การดำเนินงานให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรุก ของจังหวัดลพบุรี”และ “การดำเนินงานให้การปรึกษา เพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรับและเชิงรุก ขององค์กรเอกชนสาธารณะประโยชน์จังหวัดลพบุรี” นางธัญญาภรณ์ คุณสมบัติดูบูโลซ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี ,

2 R-R-T-T-R บริบทพื้นที่จังหวัดลพบุรี สนับสนุนโดย
การจัดบริการVCT เชิงรุก เชิงรับ งานเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับโครงการบูรณาการ การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการดูแลรักษาใน กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ภายใต้ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ จังหวัดลพบุรี R-R-T-T-R บริบทพื้นที่จังหวัดลพบุรี สนับสนุนโดย

3 กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์งานHIV STIs
เป้าประสงค์ : ไม่มีผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่, ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับเอดส์, ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ การเข้าถึง-การเข้าสู่ระบบ–การตรวจเอชไอวี–การรักษา–การอยู่ในระบบ REACH RECRUIT TEST TREAT RETAIN บริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 5 องค์ประกอบ ประเด็นร่วม: การทำให้ระบบเข้มแข็งและ การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน

4 ต้นทุนการทำงาน VCT จ.ลพบุรี
สถานการณ์/ ข้อมูล /การสนับสนุนงบประมาณ/นโยบาย โอกาสในการพัฒนาภาคีเครือข่าย/การดำเนินงาน -โครงการVCTสคร -โครงการMPVCTสคร -โครงการ NGOสคร -โครงการ QI สปสช.

5 สุรภี ศักดิ์ไพบูลย์ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
ต้นทุนงาน VCT จ.ลพบุรี การพัฒนาคุณภาพงานบริการปรึกษาก่อนและหลังตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีด้วยรูปแบบการวัดผลงานบริการปรึกษา รพ.พระนารายณ์มหาราช สุรภี ศักดิ์ไพบูลย์ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช

6

7 ขั้นตอนการจัดบริการ VCT เชิงรุก เชิงรับ HIV STIsแบบบูรณาการภาคีเครือข่ายจังหวัดลพบุรี
1.วางแผน/จัดทำหนังสือราชการ/ประสานงาน โดย สสจ.ลพบุรี ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่/รัฐ/เอกชน/ภาคีเครือข่าย 2.มอบหมายบทบาท ภารกิจ โดย สสจ.ลพบุรี 3.แบ่งงาน (Walk Rally/บรรยาย/บูรณาการกิจกรรมอื่นๆ) บรรยาย สถานการณ์ นโยบาย แนวทาง ความรู้เบื้องต้น โดย สสจ.ลพบุรี/ภาคี จัดกิจกรรมสันทนาการ ฐานการเรียนรู้ โดย จนท.รพ./NGO(พิ้งค์มังกี้ฯ เครือข่ายผู้ติดเชื้อ) ตัวอย่าง ฐานเรียนรู้ ฐาน 1 รู้จักตัวตน ความแตกต่างเรื่องเพศ ฐานที่ 2 ทักษะปฏิเสธ SEX/DRUGฐานที่ 3 ความรู้ HIV STIs ฐานที่ 4 ประเมินความเสี่ยง แลกน้ำ ฐานที่ 5 เสี่ยงไหม ตรวจกันเถอะ VCT 4.บอกผลแจกนามบัตรให้โทรถาม กรณี Positive โทรตามให้มาตรวจซ้ำ 5.บันทึกข้อมูล VCT ในโปรแกรม NAP ส่งต่อเข้าสู่ระบบติดตามดูแล Neg ตรวจซ้ำทุก 6เดือน Pos ตรวจCD4 โดย พิ้งค์มังกี้/รพ.พื้นที่

8

9 บทบาท สสจ.ลพบุรี ประสาน
ที่ ลบ ๐๐๓๒.๐๐๔/ว. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี ถนนพหลโยธิน ลบ ๑๕๐๐๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ เรื่อง ขอความร่วมมือจัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์“วันรณรงค์ตรวจเอชไอวี ๑ กรกฎาคม VCT DAY” เรียน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทุกแห่ง สาธารณสุขอำเภอทุกแห่ง คณะอนุกรรมการเอดส์จังหวัดลพบุรี สิ่งที่ส่งมาด้วย รายละเอียดการสนับสนุนสื่อรณรงค์ จำนวน ๑ ฉบับ ด้วยกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค องค์การพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกำหนดให้ วันที่ ๑ กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันรณรงค์ตรวจเอชไอวี และรณรงค์ตรวจเลือดตลอดเดือนกรกฎาคม โดยเริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์และมาตรการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมจัดงานรณรงค์ส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี ในการนี้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี ขอความร่วมมือหน่วยงานของท่าน จัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์“วันรณรงค์ตรวจเอชไอวี ๑ กรกฎาคม VCT DAY”ตามบริบทของพื้นที่ ทั้งนี้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี สนับสนุนสื่อแผ่นพับรณรงค์ “เอชไอวี ตรวจเพื่อก้าวต่อ” พร้อมถุงยางอนามัยและถุงอนามัยสตรี แก่หน่วยงานของท่าน รายละเอียดดังสิ่งที่ส่งมาด้วย

10 ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ พื้นที่เร่งรัดในจังหวัดลพบุรี
แผนการจัดกิจกรรมอบรมให้การปรึกษาตรวจคัดกรองเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก โดยตรวจรู้ผลเลือดในวันเดียว Same Day Result ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ พื้นที่เร่งรัดในจังหวัดลพบุรี ผู้ประสานการดำเนินงาน: นางธัญญาภรณ์ คุณสมบัติ ดูบูโลซ์ ๐๘ ๑๘๕๑๔๓๐๙ และ ๐๘ ๑๘๕๑ ๕๘๗๖ วัน เดือน ปี สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม ผู้ดำเนินการ หมายเหตุ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗ เวลา๐๙.๐๐-๑๕.๓๐ น. ศูนย์ฝึกเด็กและเยาวชนสถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดลพบุรี อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี เด็กและเยาวชนสถานพินิจคุ้มครอง กลุ่มที่๑ อบรมให้การปรึกษาและรับการตรวจคัดกรองเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก พยาบาล นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ให้การปรึกษา เจ้าหน้าที่ชันสูตร องค์กรพิ้งค์มังกี้ฯ เครือข่ายชุมชน ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ กองพันทหารสื่อสารที่ ๓๕ ทหารกองประจำการ ทีมที่ ๑ พยาบาล นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ให้การปรึกษา ศูนย์ฝึกเด็กและเยาวชนสถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดลพบุรี อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี กลุ่มที่ ๒ ทีมที่ ๒ พยาบาล นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ให้การปรึกษา ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ เรือนจำกลางลพบุรี ผู้ต้องขัง

11 ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ พื้นที่เร่งรัดในจังหวัดลพบุรี
ตัวอย่าง กำหนดการจัดบริการอบรมให้การปรึกษาตรวจคัดกรองเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เชิงรุกกลุ่มเป้าหมายเร่งรัด ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ พื้นที่เร่งรัดในจังหวัดลพบุรี วันที่ ๑๙-๒๑ มี.ค.๒๕๕๗ ณ โรงเรียนสงครามพิเศษ เรือนจำกลางลพบุรี ศูนย์ฝึกเด็กและเยาวชนฯ เวลา ๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน เวลา ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ สถานการณ์ ความสำคัญการปรึกษาตรวจคัดกรองเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แบบรู้ผลเลือดในวันเดียว เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. อบรมกระบวนการเรียนรู้เพื่อประเมินความเสี่ยงเอชไอวี โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ เวลา ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ประเมินความเสี่ยง การส่งต่อระบบบริการสุขภาพ เวลา ๑๔.๓๐-๑๖.๐๐ น. การตรวจคัดกรอง โดยเจ้าหน้าที่ชันสูตร

12 Reach หลักการ กลุ่มประชากรเป้าหมายเกิดความตระหนักและได้ข้อมูลมากพอที่จะสร้างความสนใจที่จะตรวจการติดเชื้อเอชไอวี

13 คำถาม จะต้อง เข้าถึงใคร ที่จะช่วยให้เรายุติปัญหาเอดส์ในจังหวัด
จะเข้าถึงกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ ที่ไหน จะเข้าถึงเขาได้ อย่างไร ด้วยวิธีการที่ได้ผลดีที่สุด คุ้มค่าที่สุด เข้าถึงได้จำนวนมากที่สุด การทำแผนที่ชุมชน ( Target Mapping ) ช่วยให้เราทราบถึงแหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย

14 recruit หลักการ กลุ่มประชากรเป้าหมาย แสดงความจำนงค์ และพร้อมที่จะไปตรวจเอชไอวี และ ตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

15 คำถาม จะชวนให้กลุ่มประชากรเป้าหมายไป ตรวจเอชไอวี แน่ๆ ได้อย่างไร
จะทำให้กลุ่มประชากรเป้าหมายที่มาใช้บริการอื่นๆในสถานพยาบาล ตรวจเอชไอวี ได้อย่างไร จะจัดระบบการตรวจ STI ให้กับกลุ่มต่างๆ ในโรงพยาบาล ได้อย่างไร ถ้าไม่มีแพทย์ ทำไมควรแนะนำให้ตรวจ STI อย่างน้อยที่สุด ควรตรวจ ซิฟิลิส ด้วย

16 กลุ่มเป้าหมายที่มาตรวจรู้ผลการตรวจ
Test หลักการ กลุ่มเป้าหมายที่มาตรวจรู้ผลการตรวจ และ...เข้าใจว่าจะทำอย่างไรให้ยังคงมีผลเลือดลบ และ...กรณีผลเลือดบวกควรรักษาต่ออย่างไร

17 คำถาม จะทำอย่างไรให้ ‘ผู้ที่ผลการตรวจลบ’ รู้จักวิธีป้องกันตัวเองจากเอชไอวีและลดพฤติกรรมเสี่ยง จะทำให้กลุ่มเป้าหมายรับบริการตรวจเอชไอวี ได้ ‘สะดวก และไว้ใจได้’ ทั้งในเรื่องคุณภาพและ การรักษาความลับ จะทำให้ ‘คู่ของกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือดบวก’มาตรวจเอชไอวีได้อย่างไร

18 จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่: จะจัดที่ไหน
จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่: จะจัดที่ไหน พื้นที่ปิด เช่น ศูนย์ดร็อปอิน ผับ บาร์ ซาวน่า อาบอบนวด โรงแรม หรือ ร้านเสริมสวย เป็นต้น พื้นที่เปิด เช่น สวนสาธารณะ ลานจอดรถในห้างสรรพสินค้า ตลาด เป็นต้น เน้นรูปแบบและสถานที่ที่สอดคล้องกับกิจกรรมและความชอบของกลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดบริการในซาวน่า สปา สนามวอลเล่ย์บอล ร้านเสริมสวย ผสมผสานไปเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในศูนย์ดร็อปอิน เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะจัดให้บริการแบบใดยังคงยึดหลักการรักษาความลับ และความเป็นส่วนตัวของผู้รับบริการ Reference: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2557 หน้า

19 จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่: จะจัดอย่างไร
ประชุมทีมผู้ให้บริการ ประกอบด้วย ผู้ให้การปรึกษา นักเทคนิคการแพทย์หรือพยาบาลที่ทำหน้าที่เจาะเลือด เจ้าหน้าที่ภาคประชาสังคม และเจ้าหน้าที่สนับสนุนอื่นๆ ที่ประสานงานในหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการทำงาน จัดเตรียมพื้นที่ ประชาสัมพันธ์การบริการ และแบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ภาคประชาสังคม ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์การให้บริการ แจกถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น เอกสารข้อมูลความรู้ หรือทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย Reference: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2557 หน้า

20 จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่: พบคนที่ผลบวก จะทำอย่างไร
ประสานงานด้านระบบส่งต่อให้ชัดเจน ชื่อผู้ติดต่อ โทรศัพท์ สถานที่และเวลารับบริการ กำหนดผู้รับผิดชอบ และ ขั้นตอนการติดตามเพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับบริการไปรับบริการหลังส่งต่อ ให้ข้อมูลเพื่อให้เห็นประโยชน์ของการรักษาแต่เนิ่นๆ สร้างความมั่นใจในการไปรับการรักษา Reference: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2557 หน้า

21 การเชื่อมต่อระหว่างบริการเชิงรุกกับบริการตรวจเอชไอวี
Branding หน่วยบริการตรวจเอชไอวี บริการที่เป็นมิตร และมีคุณภาพ LOGO จัดระบบส่งต่อ ใบส่งรับบริการ / บัตรสมาชิก ช่องทางการติดต่อ โทรศัพท์ ไปเป็นเพื่อน ตัวอย่างบัตรสมาชิกของ ลพบุรี

22 Treat หลักการ กลุ่มเป้าหมายที่ผลเลือดบวก ได้รับการรักษาเร็วที่สุดหลังทราบผล

23 คำถาม จะแน่ใจได้อย่างไรว่าผู้ที่มีผลเลือดบวก ได้เข้าสู่การดูแลรักษาทุกคนทันทีหลังทราบผล จะจัดระบบรักษาความลับได้อย่างไร เมื่อต้องมีการส่งต่อระหว่างแผนกต่างๆ ในโรงพยาบาล จะทำอย่างไรให้ผู้มีผลเลือดบวกได้ตรวจ CD4 เร็วที่สุด เพื่อให้ผู้ติดเชื้อฯได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ จะทำอย่างไรให้ผู้ที่ยังไม่พร้อมจะกินยาต้านไวรัสฯ พร้อมที่จะรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ

24 ความเป็นไปได้ที่จะกลับมามี CD4 ในระดับปกติ ขึ้นอยู่กับระดับ CD4 ก่อนเริ่มยาต้านไวรัส
ATHENA National Cohort[2] Johns Hopkins HIV Clinical Cohort[1] BL CD4+ Cell Count BL CD4+ Cell Count > 350 1000 1000 < 200 800 800 600 600 Median CD4+ Cell Count (cells/mm3) 400 400 สไลด์ 2 แผ่นต่อไปนี้ สนับสนุนว่านอกจากประโยชน์ในแง่การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีไปสู่คนอื่นจากการ “รู้ผลเลือดเร็วและรักษาเร็ว” แล้ว การรู้และรักษาเร็วยังมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่สุขภาพของผู้ติดเชื้อเองที่ดีขึ้นในระยะยาวด้วย โดยดูจากโอกาสที่ CD4 จะสูงขึ้นจนเทียบเท่าคนที่ไม่ติดเชื้อ (เส้นกราฟด้านบน) จะเป็นไปได้ไม่ยากในผู้ที่เริ่มรักษาเร็ว ซึ่งจะต่างจากผู้ที่เริ่มรักษาช้า (เส้นกราฟด้านล่าง) ซึ่งถึงแม้รักษาไปแล้วเกิน 5 ปีก็มักจะไม่ค่อยสามารถทำให้ CD4 สูงขึ้นไปเกิน 500 ได้ 200 200 < 50 51-200 > 500 1 2 3 4 5 6 48 96 144 192 240 288 336 Yrs on HAART Wks From Starting HAART ยิ่งรู้สถานะการติดเชื้อเร็ว เข้าสู่การรักษาเร็ว อายุขัยจะยืนยาวได้เทียบเท่าคนไม่ติดเชื้อ Moore RD, et al. Clin Infect Dis. 2007;44: Published by The University of Chicago Press. Copyright © University of Chicago Press. All rights reserved. . Gras L, et al. J Acquir Immune Defic Syndr. 2007;45: Reproduced with permission. clinicaloptions.com/hiv 24

25

26 ตรวจสอบสิทธิ์ได้ที่โรงพยาบาลส่งเส ริมสุขภาพตำบลหรือโรงพยาบาลรัฐใกล้บ้าน หรือตรวจสอบด้วยตัวเอง โทร. 1330 กด 2 ตามด้วยเลขบัตรประชาชน13 หลัก (ค่าโทรครั้งละ 3 บาท) หากต้องการลงทะเบียนหรือย้ายสิทธิ์ให้ยื่นเอกสารได้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือโรงพยาบาลรัฐ ใกล้บ้าน โดยเอกสารที่ต้องเตรียมไปได้แก่ คำถาม: ต้องจ่ายค่าตรวจเท่าไหร่ ? คำตอบ: ฟรี สำหรับคนไทยทุกคน การย้ายสิทธิ์มาใช้บัตรทองจะช่วยให้เราประหยัดเงินได้มาก โดยเฉพาะในกรณีที่พบเชื้อเอชไอวีและต้องกินยาต้านไวรัส การตรวจแบบทราบผลในวันเดียว ตรวจได้ฟรีที่โรงพยาบาลบางรัก นภาคลินิก (อุดร) คลินิกปลายฟ้า (ขอนแก่น) สบายดีคลินิก (ภูเก็ต) ศูนย์พัทยารักษ์ คลินิก SWING SISTER ศูนย์ดรอปอินของกองทุนโลก คลินิกบางแห่งของกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลที่เข้าร่วม โครงการ branding pilot ของ สปสช. และสำหรับ MSM ตรวจได้ฟรีที่สีลมคลินิก และคลีนิค นิรนามด้วย ในไม่ช้าจะมีโรงพยาบาลที่ให้บริการตรวจแบบทราบผลในวันเดียวเพิ่มจากเดิม (แกนนำลอง สำรวจดูในพื้นที่ของตัวเองด้วย) สามารถดูรายชื่อคลินิกได้ใน Ÿ สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน หรือหนังสือรับรองการพักอาศัย ก่อนย้ายสิทธิ์ให้ตรวจสอบกับโรงพยาบาลปลายทางด้วยว่าโควตาเต็มหรือยัง อ้างอิงหลักสูตรการอบรม คุยยังไงให้เพื่อนอยากตรวจ โครงการ PREV โดย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

27 ถาม: สิ่งที่เพื่อนส่วนใหญ่กังวลและไม่กล้ามาตรวจคืออะไร
ตอบ: กลัวคนรู้ ซึ่งแกนนำสามารถยืนยันให้เพื่อนคลายกังวลได้ถึงระบบการเก็บความลับของคลินิก ดังต่อไปนี้ (คลิกไปรายข้อ) แกนนำมีส่วนช่วยสร้างความมั่นใจให้กับเพื่อนได้ โดยแสดงให้เพื่อนเห็นว่าเราเอง ซึ่งอยู่ในระบบบริการ ก็มีจริยธรรมในการเก็บความลับเหมือนกัน อย่าเมาท์มอยคนอื่นให้เพื่อนฟัง อ้างอิงหลักสูตรการอบรม คุยยังไงให้เพื่อนอยากตรวจ โครงการ PREV โดย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

28 Retain positive หลักการ
ผู้ที่รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ กินยา สม่ำเสมอ และปริมาณไวรัสฯลดลง

29 คำถาม Case management โดยชุมชน
จะจัดการอย่างไร เมื่อต้องดูแลผู้ติดเชื้อฯจำนวนมาก การส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อฯดูแลตัวเอง การส่งรักษาต่อเนื่อง ที่ รพ.สต. Case management โดยชุมชน จะทำอย่างไรให้ผู้ติดเชื้อฯ ยังคงใช้ถุงยางอนามัยสม่ำเสมอ

30

31 การส่งรักษาต่อเนื่อง ที่ รพ.สต.
บทบาท รพ.สต. 1 จ่ายยาต้านไวรัสฯ ทุก 3 เดือน 2 ตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน 3. ประเมิน side effect ทางคลินิก 4. ประเมิน โรคติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น การคัดกรอง TB 5. ส่งเสริม adherence 6. ติดตาม ผู้ติดเชื้อฯที่ ไม่มารับบริการตามนัด กำหนดพื้นที่ 1.วิเคราะห์ข้อมูลผู้ติดเชื้อฯ 2.ศักยภาพของ รพ.สต. การพัฒนา 1.สร้างศักยภาพ รพ.สต. 2.เตรียมความพร้อมของผู้ติดเชื้อฯ ส่งดูแลต่อ 1.กินยาต้านไวรัสฯมากกว่า 1 ปี 2.กินยาต้านไวรัสฯ สูตรพื้นฐาน

32 Retain negative หลักการ
กลุ่มที่มีผลเลือดลบ ตรวจเอชไอวีสม่ำเสมอ และรักษาสถานะการไม่ติดเชื้อ

33 คำถาม จะมีวิธีการกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายไปตรวจโดยสม่ำเสมอ ได้อย่างไร

34 Program management หลักการ
จังหวัดเป็นเจ้าของโครงการ เพื่อยุติปัญหาเอดส์ของจังหวัด มีเป้าหมายรวมของจังหวัด ระดมทรัพยากรในการทำงาน

35 จะทำอย่างไรจึงจะทำให้การดำเนินงานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้มากเพียงพอ
การกำหนดเป้าหมาย การดำเนินงาน การจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่ดำเนินงาน รู้ขนาดของประชากร 3% ของประชากรชาย ปี Higher risk จำนวนเท่าไหร่ รู้จักลักษณะเฉพาะของประชากร อัตลักษณ์ทางเพศ และเพศวิถี จุดรวมตัว กิจกรรมรวมกลุ่ม รู้จัก “ตัวแม่” ฯลฯ เป้าหมายในการทำงาน (จำนวนคน) พื้นที่ทำงาน (Prioritize) รูปแบบ/วิธีการทำงาน

36 Out-reach: พื้นที่/ช่องทาง วิธีการ แรงจูงใจ
รูปแบบการเข้าถึง Out-reach: พื้นที่/ช่องทาง วิธีการ แรงจูงใจ การเข้าถึงด้วยวิธีการทำงานแบบตัวต่อตัว – วิธีการเข้าถึง: peer educator, ตัวแม่ แม่ข่าย Prioritize พื้นที่ทำงาน: จุดรวมตัวสำคัญๆ การเข้าถึงด้วย social media อะไรคือ สื่อ หรือช่องทางการกระจายสื่อที่เหมาะสมกับลักษณะกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ In-reach: การทำ branding service ที่เป็นแรงจูงใจให้มารับบริการ และประชาสัมพันธ์ให้รับรู้ในวงกว้างเพื่อดึงดูดให้มาใช้บริการ

37 ข้อควรจำ การเข้าถึง-การเข้าสู่ระบบ–การตรวจเอชไอวี–การรักษา–การอยู่ในระบบ REACH RECRUIT TEST TREAT RETAIN บริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 5 องค์ประกอบ การกำหนดเป้าหมายการทำงาน คือ การปักธงตั้งต้นให้รู้ว่า เราจะต้อง เดินหน้าไปให้ถึงจุดไหน การวิเคราะห์พื้นที่ (mapping) และในการทำงานส่วนของ Reach อาจทำให้ เราพบว่า มีกลุ่มเป้าหมายจำนวนมากกว่านั้น อย่าหยุด reach ถึงแม้จะ เข้าถึงได้ตามจำนวนเป้าหมายที่วางไว้แล้ว เป้าหมายสำคัญ คือ การทำให้จำนวน MSM เข้ารับการตรวจเลือดมากที่สุด และผู้ที่ตรวจพบเอชไอวีเข้าสู่ระบบการรักษาเร็วที่สุด

38 จำนวนประชากรที่มีความเสี่ยงสูง
รักษาสม่ำเสมอ จำนวนประชากรที่มีความเสี่ยงสูง รู้แล้วว่า ใคร อยู่ที่ไหน เป้าหมายการทำงาน เข้าถึงได้ ตรวจการติดเชื้อ รับฟังผล ART ตรวจ HIV ซ้ำ ตรวจ CD4 ระบบการติดตามประเมินผล Mapping / สำรวจ HIV - HIV + รอยรั่ว = สิ่งที่ยังไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

39 จะจัดหาและกระจายถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่นให้เพียงพอได้อย่างไร
รู้ขนาดประชากรเป้าหมายที่ต้องการทำงานด้วย คำนวณจำนวนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่นที่ต้องการใช้ในการทำงาน บริหารจัดการเพื่อให้ได้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่นที่เพียงพอ พิจารณา/ดำเนินการจัดตั้งกองทุนถุงยางอนามัย เพื่อความยั่งยืน วิธีการคำนวณจำนวนถุงยางอนามัยสำหรับพื้นที่ คาดประมาณความต้องการถุงยางอนามัยของ MSM 246 ชิ้น ต่อปี ต่อคน จำนวนถุงยางอนามัยที่ต้องการในพื้นที่ = จำนวนกลุ่มเป้าหมาย x 246 จำนวนสารหล่อลื่นที่ต้องการในพื้นที่ = จำนวนกลุ่มเป้าหมาย x 246

40 สรุปรูปแบบการจัด VCT เชิงรุก เชิงรับงานเอดส์ STIs แบบบูรณาการร่วมกับภาครัฐ และภาคีเครือข่าย จังหวัดลพบุรี สสจ.ลพบุรี ทำหน้าที่ ร่วม วางแผน ประสาน บริหารจัดการ ติดตาม สนับสนุน เน้น R T T T R เชิงคุณภาพและปริมาณ แบบบูรณาการ ครบถ้วน ทุกขั้นตอน การจัดการข้อมูลเพื่อการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ทบทวน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งปัน และพัฒนาการดำเนินงาน

41 สิ่งที่ดำเนินการได้ดี กิจกรรมในช่วง ๖ เดือนข้างหน้า
๑.วิเคราะห์และกำหนดการดำเนินงานในจังหวัดตามแนวทาง R–R-T-T-R ให้มีประสิทธิผล กรอบงาน สิ่งที่ดำเนินการได้ดี ปัญหา กิจกรรมในช่วง ๖ เดือนข้างหน้า Reach Mobile VCT,Social Media,network เครือข่ายที่ดี บางกลุ่มเข้าไม่ถีงบริการ จัดโซนบริการเชิงรุก ทีมVCTระดับโซน เพิ่มการประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง/ทุกระดับ/ Recruit OCนำส่ง ติดตาม จนท.รพ.พร้อม ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เพิ่มกระจายบัตรส่งต่อ,เพิ่มบริการรพ. Test SDR ,CD4 ตรวจร้อยละ95 ตัวแม่ไม่ยอมตรวจ ไม่ไว้ใจ เพิ่มทักษะปรึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ขอรับงบค่าตรวจเพิ่มเติม Treat ได้รับการติดตามดูแลโดยOC จนท. ไม่ตรวจCD4ทันที,สิทธิรักษา เสนอเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง Retain +ve ศอร.,OC จนท.เยี่ยมติดตาม tel. แข็งแรงแล้วขาดการติดตาม วางแผนปรึกษา/แนวทางส่งต่อบริการ Retain-ve OC จนท.เยี่ยมติดตาม tel. IT ไม่มาตรวจซ้ำ ไม่ตรวจSTIs เพิ่มช่องบริการในรพ. ทักษะตรวจSTI ๒.ต้องการให้ส่วนกลางสนับสนุนทางวิชาการในเรื่อง:นิเทศสนับสนุนตรวจSTIในMSM,ทักษะcounselling MSMกลุ่ม เช่น young MSM ,Adult MSM,TG GAY,Bi/เวทีแลกเปลี่ยน

42 สถานที่พบ MSM/ Reached
จำนวนที่ค้นหา MSM ตรวจ พบ HIV พบ ซิฟิลิส Social Network by OC 5000 670 42(6.2%) 11(26%) 2 รวม 42 11 อ.เมือง นักเรียน นักศึกษา 2348 214 ค่ายทหาร 3119 283 83(29.3%) เรือนจำลพบุรี 609 124 1 ห้างโลตัส 216 27 9 ห้างบิ๊กซี 230 46 32 จีแมนสปา 13 10548 1,200 261 11(4%) อ.บ้านหมี่ 700 เดินเข้ามาตรวจ 60 20 10 760 10(50%) อ.ท่าวุ้ง 350 ค่ายยาเสพติด 63 พนักงานโรงงาน 300 713 อ.พัฒนานิคม โรงงานอุตสาหกรรม สถานพินิจเด็กและเยาวชน 213 6 ร้านคาราโอเกะ 3 626 16 2(12%)

43 สถานที่พบ MSM/ Reached
 ค้นหา MSM ตรวจ พบ HIV จำนวน พบ ซิฟิลิส อ.ชัยบาดาล นักเรียน นักศึกษา 350 เรือนจำชัยบาดาล 120 7 1 เดินเข้ามาตรวจ 2 พนักงานบริการ 15 3 รวม 487 117 12 3(25%) อ.หนองม่วง 6 356 6(100%) อ.ท่าหลวง 352 2(100%) อ.สระโบสถ์ (นักเรียน นักศึกษา) อ.ลำสนธิ(นักเรียน นักศึกษา) อ.โคกเจริญ (นักเรียน นักศึกษา) อ.โคกสำโรง (นักเรียน นักศึกษา) รวมทั้งหมด 11 อำเภอ 20242  2088(10%) 473(22%) 45(9.5%) 10(2.11%)

44 HIV /TB จังหวัดลพบุรี ปี 2557
สรุปรายงานผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีประวัติป่วยเป็นวัณโรค (TB/HIV) TB/HIV ที่ยังไม่ได้รับยาต้านฯ TB/HIV ที่ได้รับยาต้านฯ แล้ว TB/HIV เสียชีวิตที่ 12 ด หลังลงทะเบียน TB/HIV without ART เสียชีวิต กลุ่ม No-ART Lost FU ทั้งหมด ยังมารับบริการ TB/HIV with ART เสียชีวิต กลุ่ม ART ลงทะเบียนครบกำหนด 12 ด No-ART With ART Death ทั้งหมด Death รายใหม่ ทั้งหมด Death ภายใน 12 ด โรงพยาบาล M2a M4a M6a M8a M10a M12a M14a M16a M18a M20a M22a N0a N2a N4a N12a N14a 136 92 3 17 27 577 116 10 55 406 34 5 4 29 2 โรงพยาบาลบ้านหมี่ (10691) 25 1 7 148 35 103 9 โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช (10690) 50 32 160 19 109 8 โรงพยาบาลโคกเจริญ (10795) โรงพยาบาลโคกสำโรง (10790) 20 15 57 14 6 37 โรงพยาบาลชัยบาดาล (10791) 47 โรงพยาบาลท่าวุ้ง (10792) 31 22 โรงพยาบาลท่าหลวง (10793) 16 13 โรงพยาบาลพัฒนานิคม (10789) 46 โรงพยาบาลลำสนธิ (10796) โรงพยาบาลสระโบสถ์ (10794) โรงพยาบาลหนองม่วง (10797) 45 41 โรงพยาบาลอานันทมหิดล (11484) จังหวัดลพบุรี

45 กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว ยอดเงินที่ได้รับการโอน
ยอดที่เบิก คงเหลือ หมายเหตุ 514,920 1 การจัดบริการตรวจเชื้อเอชไอวีนอกหน่วยบริการ 33, (รับโอนเมื่อ กย57) 33,520 ทำช่วงลอยกะทง 2 บูรณาการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด เพื่อค้นหากลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาเครือข่ายทางสังคมกระตุ้น ประชาสัมพันธ์ และส่งต่อ เป็นเงิน 80,000 บาท 15,000 65,000 คงเหลือทำเดือน พ.ย. 57 3 ด้านการให้บริการสุขภาพ ผลักดันนโยบายและการจัดใน สถานบริการ บริการตรวจเลือด และพร้อมทั้งค้นหากลุ่มเป้าหมาย /ชุมชน/สถานศึกษา/ทหาร/เรือนจำ สถานพินิจเด็กเยาวชน เป็นเงิน 62,320 บาท 62,320 4 ด้านการบริหารการจัดการและวางแผนร่วมกันของภาคี 1.ค่าจ้าง OC เป็นเงิน 540,000 บาท 315,000 225,000

46 กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว ยอดเงินที่ได้รับการโอน
ยอดที่เบิก คงเหลือ หมายเหตุ 2.สื่อ/กิจกรรมสำรวจชุมชน/พัฒนารูปแบบส่งต่อ ทำกล่องใส่ถุงยางและแผ่นพับ (condom point) เป็นเงิน 139,080 บาท 47,080 92,000 คงเหลือ ทำเดือน ม.ค. 58 5 การติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ และ ประชุมสรุปผล การนิเทศติดตามงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ อำเภอ จังหวัด แก่เครือข่ายบริการสุขภาพ เป็นเงิน 36,800 บาท 36,800 คงเหลือทำเดือน ก.พ. 58 รวมเป็นเงินทั้งหมด 548,440 439,400 452,320 ยอดเงินทั้งโครงการ 858,200 บาท + 33,520 = 891,720 ยอดเงินที่ได้รับ ,440 บาท ยอดเงินใช้จ่ายแล้ว ,400 บาท คงเหลือ ,040 บาท รอการโอน ,280 บาท

47 ภาพกิจกรรม การVCT HIV STIs เชิงรุก เชิงรับ แบบบูรณาการจังหวัดลพบุรี

48 แบบฟอร์มลงทะเบียนรับบริการ VCT ตรวจHIV STIs

49 ตรวจคัดกรองเชิงรุกกลุ่มพนักงานบริการชาย

50

51 กิจกรรม วัน VCCT DAY เดือน กรกฏาคม ๒๕๕๗ ห้างโลตัส อ. เมืองลพบุรี จ

52 Mobile VCTงานคืนความสุข เพื่อประชาชน การตรวจสุขภาพ (เอชไอวี) อ

53 Mobile VCT ร่วมกับคอนเสิร์ตงานไข้เลือดออก การออกหน่วยบริการ ตรวจสุขภาพ (เอชไอวี) ฟรี เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗

54 การอบรมการป้องกันเอดส์ในกลุ่มพนักงานโรงงาน ในจังหวัดลพบุรี เดือน กันยายน ๒๕๕๗

55 การตรวจสุขภาพ(เอชไอวี) ฟรี กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ณ รพ
การตรวจสุขภาพ(เอชไอวี) ฟรี กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ณ รพ.พระนารายณ์มหาราช

56 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt “การดำเนินงานให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรุก ของจังหวัดลพบุรี”และ “การดำเนินงานให้การปรึกษา เพื่อตรวจหาเชื้อเอชไอวีเชิงรับและเชิงรุก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google